กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน ปี 2563 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางนุชรี หยังหลัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน ปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L6895-01-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันการสาธารณสุขได้ปฏิรูปไปสู่การส่งเสริมสุขภาพ เนื่องจากเป็นกระบวนการเพิ่มสมรรถนะให้คนเราสามารถควบคุมปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพ และเป็นผลให้บุคคลมีสุขภาพดีขึ้น การส่งเสริมสุขภาพเป็น  วิธีสร้างความเข็มแข็งแก่สังคมไทย โดยมุ่งให้คนไทยสามารถพึ่งพาตนเองได้ สามารถดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน นอกจากนี้ ยังเป็นองค์ประกอบสำคัญของงานสาธารณสุขที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาพยาบาล  การส่งเสริมสุขภาพเป็นสิ่งที่ทุกคนทุกสถานที่สามารถทำให้เกิดขึ้นได้
โรงเรียนเป็นสถาบันการสร้างเสริมสุขภาพที่สำคัญ เป็นสถานที่ซึ่งทุกคนในโรงเรียนและชุมชนร่วมกัน จัดโครงสร้างและประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมและดูแลสุขภาพของนักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียน และชุมชนนั้นๆ โดยดำเนินการในรูปของคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน ซึ่งมีผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ครู บุคลากรในโรงเรียน นักเรียน ผู้ปกครอง สมาชิกในชุมชน เป็นตัวแทนเพื่อกำหนดความต้องการและแนวทางในการแก้ปัญหา การพัฒนาให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการส่งเสริมสุขภาพ สุขภาพกับการศึกษา เป็นสิ่งที่ต้องดำเนินควบคู่กันไป ให้เกิดการประสานเอื้ออำนวยประโยชน์และเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เพื่อผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อกลุ่มเป้าหมายเด็กนักเรียน ซึ่งเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในอนาคต การส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดีพร้อมต่อการเรียนรู้ จึงเป็นสิ่งสำคัญ
เด็กวัยเรียนและเยาวชน เป็นกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญยิ่งในกาพัฒนาประเทศ ดังพระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในปีพุทธศักราช 2522 “เด็กเป็นผู้ที่รับช่วงทุกสิ่งทุกอย่างจากผู้ใหญ รวมทั้งภาระความรับผิดชอบในการธํารงรักษาความสุขสงบของประชากรโลก” การลงทุนกับเด็กจึงคุมคามากกวา การลงทุนใดๆ ทั้งสิ้น เพราะเด็กที่มีคุณภาพจะนําไปสูการเปนผูใหญที่มีคุณภาพ  และผูใหญที่มีคุณภาพก็ตองมาจากวัยเด็กที่ไดรับการพัฒนาอยางถูกตองเหมาะสมดวยเชนกัน (สํานักสงเสริมสุขภาพ, 2554) สภาพสังคมและสิ่งแวดลอมในปจจุบันที่มีการพัฒนาดานเทคโนโลยี การสื่อสาร ทำใหเด็กวัยเรียนและเยาวชนไดรับคานิยมและวัฒนธรรมตะวันตก เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีการดํารงชีวิตอยางมากมาย สงผลตอพฤติกรรม เกิดการเลียนแบบนําไปสูปญหา ตางๆ ทั้งตอตัวเด็กเอง ครอบครัว และสังคม
ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียน  จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียนขึ้น  เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนมีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์      มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด ประสบผลสำเร็จในการศึกษาเล่าเรียนอย่างมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เติบโตสมวัย ฉลาดเลือกและรู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมโลก และสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้สะดวกและรวดเร็ว
  2. เพื่อควบคุมป้องกันโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กวัยเรียน
  3. เพื่อส่งเสริมสุขภาพให้นักเรียนมีสุขภาพดี
  4. เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพในเด็กวัยเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการครูอนามัยโรงเรียนและนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพและเยาวชนสาธารณสุข
  2. กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน
  3. กิจกรรมเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 2,300
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เติบโตสมวัย ฉลาดเลือกและรู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมโลก และเข้าถึงบริการสุขภาพได้สะดวกและรวดเร็ว
  2. สามารถควบคุมป้องกันโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กวัยเรียนได้
  3. นักเรียนมีสุขภาพดี
  4. เด็กวัยเรียนมีการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการครูอนามัยโรงเรียนและนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพและเยาวชนสาธารณสุข

วันที่ 23 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • กล่าวเปิดการประชุม
  • บรรยายเรื่อง ความสำคัญและบทบาทของนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ
  • บรรยายเรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่2019
  • มาตรการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
  • สาธิตและฝึกปฏิบัติ เรื่อง การล้างมือ 7 ขั้นตอน และใส่หน้ากากอนามัย
  • สรุปกิจกรรม/ปิดประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ/เยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน และครูอนามัยโรงเรียนรวมจำนวน 88 คน เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง

 

85 0

2. กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน

วันที่ 3 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน ป.1-ป.4 เป็นรายบุคคล  และแนะนำการตรวจสุขภาพโดยใช้แบบตรวจสุขภาพด้วยตนเองแก่นักเรียนชั้น ป.5 ขึ้นไป  และให้ความรู้แก่นักเรียนและการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องพร้อมให้การรักษาเบื้องต้นแก่นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน ป.1-ป.4 เป็นรายบุคคล  และแนะนำการตรวจสุขภาพโดยใช้แบบตรวจสุขภาพด้วยตนเองแก่นักเรียนชั้น ป.5 ขึ้นไป  และให้ความรู้แก่นักเรียนและการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องพร้อมให้การรักษาเบื้องต้นแก่นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ

 

0 0

3. กิจกรรมเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง

วันที่ 10 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางแก่นักเรียนชั้น ป.1 – ป.6  ดังนี้ -  ให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันภาวะโลหิตจาง เช่น การรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก -  จ่ายยาเม็ดธาตุเหล็กให้แก่นักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 รับประทานสัปดาห์ละ 1 เม็ด ระยะเวลา  32 สัปดาห์  โดยขอความร่วมมือจากโรงเรียนในการดำเนินการมอบหมายครูประจำชั้นจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กแก่เด็กนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6  คนละ  1  เม็ด  สัปดาห์ละ 1  ครั้ง ก่อนอาหารกลางวันทุกวันจันทร์  (ยกเว้นนักเรียนที่เป็นโรคเลือดจางธาลัสซิเมีย)  พร้อมลงบันทึกการรับประทานยาในแบบบันทึกฯ -  ประเมินภาวะโลหิตจางโดยการสุ่มเจาะเลือดจากปลายนิ้ว 10 % ของนักเรียนของโรงเรียน
ในเขตรับผิดชอบ 4 โรง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางแก่นักเรียนชั้น ป.1 – ป.6  ดังนี้ -  ให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันภาวะโลหิตจาง เช่น การรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก -  จ่ายยาเม็ดธาตุเหล็กให้แก่นักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 รับประทานสัปดาห์ละ 1 เม็ด ระยะเวลา  32 สัปดาห์  โดยขอความร่วมมือจากโรงเรียนในการดำเนินการมอบหมายครูประจำชั้นจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กแก่เด็กนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6  คนละ  1  เม็ด  สัปดาห์ละ 1  ครั้ง ก่อนอาหารกลางวันทุกวันจันทร์  (ยกเว้นนักเรียนที่เป็นโรคเลือดจางธาลัสซิเมีย)  พร้อมลงบันทึกการรับประทานยาในแบบบันทึกฯ -  ประเมินภาวะโลหิตจางโดยการสุ่มเจาะเลือดจากปลายนิ้ว 10 % ของนักเรียนของโรงเรียน
ในเขตรับผิดชอบ 4 โรง ผลการตรวจนักเรียนจำนวน 239 คน พบมีภาวะซีด  จำนวน 8 คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแก่ครูอนามัยโรงเรียนและนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพและเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียนจากโรงเรียนเทศบาลวัดตรังคภูมิพุทธาวาส, โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี, โรงเรียนจุ๋งฮัวโซะเซียว และ โรงเรียนประชาวิทยา จำนวน 85 คน เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2563 เวลา 08.30-14.30 น. ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง วิทยากรให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ/เยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน และครูอนามัยโรงเรียน โดยวิทยากร จากโรงพยาบาลกันตัง ในเรื่อง
    -  ความสำคัญและบทบาทของนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ -  ความรู้ เรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)
    -  มาตรการการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน
    -  สาธิตและฝึกปฏิบัติ  เรื่อง “การล้างมือ ๗ ขั้นตอน”และการใส่หน้ากากอนามัย
  2. จัดกิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน ป.1-ป.4 เป็นรายบุคคล  และแนะนำการตรวจสุขภาพโดยใช้แบบตรวจสุขภาพด้วยตนเองแก่นักเรียนชั้น ป.5 ขึ้นไป และให้ความรู้แก่นักเรียนและการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องพร้อมให้การรักษาเบื้องต้นแก่นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ขึ้นไป ได้จัดสรรจัดแบบบันทึกการตรวจสุขภาพนักเรียนด้วยตนเอง  เพื่อสนับสนุนให้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองและส่งเสริมให้เด็กเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพและปลูกฝังการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ในการตรวจสุขภาพด้วยตนเองภาคเรียนละ 1 ครั้ง และให้ใช้ต่อเนื่องทุกปีการศึกษา และเลื่อนชั้นตามตัวนักเรียน ในการนี้ ได้ให้การรักษา/คำแนะนำแก่นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในนักเรียนที่มี เหา มีแผล ผื่นคัน กลากเกลื้อน หวัด  และส่งรักษาต่อในนักเรียนที่มีปัญหาฟันผุ
  3. จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางแก่นักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 ดังนี้

- ให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันภาวะโลหิตจาง เช่น การรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก - จ่ายยาเม็ดธาตุเหล็กให้แก่นักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 รับประทานสัปดาห์ละ 1 เม็ด ระยะเวลา 32 สัปดาห์  โดยขอความร่วมมือจากโรงเรียนในการดำเนินการมอบหมายครูประจำชั้นจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กแก่เด็กนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6  คนละ 1 เม็ด สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารกลางวันทุกวันจันทร์ (ยกเว้นนักเรียนที่เป็นโรคเลือดจางธาลัสซิเมีย) พร้อมลงบันทึกการรับประทานยาในแบบบันทึกฯ - ประเมินภาวะโลหิตจางโดยการสุ่มเจาะเลือดจากปลายนิ้ว 10 % ของนักเรียนของโรงเรียนในเขตรับผิดชอบ 4 โรง ในนักเรียนที่มีภาวะซีด ได้แจ้งผลการตรวจประเมินภาวะโลหิตจางให้โรงเรียนทราบ และขอความร่วมมือโรงเรียนแจ้งผู้ปกครองในการติดตามรักษาในนักเรียนที่พบค่าฮีมาโตคริต (Hematocrit) ต่ำกว่า ๓๔ % โดยสนับสนุนยาและให้รับประทานยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก เฟอรัสฟูมาเรต วันละ 1 เม็ด ติดต่อกันนาน 30 วัน ในการนี้ ไม่สามารถจ่ายยาถ่ายพยาธิอัลเบนดาโซน (200 มก.) แก่ชั้นนักเรียน ป.1 – ป.6 รับประทานคนละ 2 เม็ด/ปีการศึกษา ตามโครงการฯ ได้ เนื่องจากไม่สามารถจัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรม(ยางดผลิตชั่วคราว)
4. ตรวจคัดกรองสายตานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทุกคน  และส่งต่อนักเรียนที่มีภาวะสายตาผิดปกติ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เติบโตสมวัย ฉลาดเลือกและรู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมโลก และสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้สะดวกและรวดเร็ว
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
0.00

 

2 เพื่อควบคุมป้องกันโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 นักเรียนชั้น ป.1 ขึ้นไปได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ด/สัปดาห์
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมสุขภาพให้นักเรียนมีสุขภาพดี
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 นักเรียนชั้น ป.1 - ป.4 ได้รับการตรวจสุขภาพโดยบุคลากรสาธารณสุขและนักเรียนชั้น ป.5 ขึ้นไปได้รับการตรวจสุขภาพด้วยตนเองอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
0.00

 

4 เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพในเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 นักเรียนชั้น ป.1 ได้รับการทดสอบสายตาปีละ 1 ครั้ง 2. ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการรักษาเบื้องต้น หรือส่งรักษาต่อ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2385
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 2,300
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เติบโตสมวัย ฉลาดเลือกและรู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมโลก และสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้สะดวกและรวดเร็ว (2) เพื่อควบคุมป้องกันโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กวัยเรียน (3) เพื่อส่งเสริมสุขภาพให้นักเรียนมีสุขภาพดี (4) เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพในเด็กวัยเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการครูอนามัยโรงเรียนและนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพและเยาวชนสาธารณสุข (2) กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน (3) กิจกรรมเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน ปี 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนุชรี หยังหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด