กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. การสร้างแกนนำวิทยากรและการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จัดประชุมชี้แจงโครงการฯคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง และมีการประสานงานกลุ่มเป้าหายที่จะเข้าร่วมกิจกรรม คือ กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคไม่ติดต่อในชุมชน ปี 2560  จำนวน 75 คน โดยมีรายชื่อตามหมู่บ้าน คัดเลือกมาเฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยง เพื่อเข้ารับการประชุมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตและวิถีชุมชน และมีการจัดทำหลักสูตรอย่างง่าย เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตามแบบวิถีชุมชนโดยสร้างการมีส่วนร่วมกิจกรรมจากการประชุมกลุ่มเสี่ยง
  2. การดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง และการพัฒนาเครือข่ายกลุ่มเสี่ยง  โดยการลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยงที่ตรวจคัดกรองและยืนยันผลการคัดกรองว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง มีความพร้อมและสมัครใจร่วมกิจกรรม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง จำนวน 75 คน ดำเนินการแบบเข้าค่ายไป-กลับ จำนวน 2 วัน  ดำเนินการจัดประชุมแก่ประชุมแก่ประชากรกลุ่มเสี่ยง โดยประยุกต์ทฤษฎีการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมเป็นกรอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การถอดบทเรียน การประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มเสี่ยง โดยการวัดประเมินความรู้อย่างง่าย แบบวิธีถามตอบ มีความรู้ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 85 และมีทักษะการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้น จากผลการติดตามเป็นระยะเวลา 1 เดือน (ในโครงการ) และต่อเนื่อง (หลังเสร็จสิ้นโครงการ) พบว่า ผลระดับความเสี่ยงสถานะสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายมีระดับการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้น  จำนวน 31 คน และระดับการดูแลสุขภาพเท่าเดิม จำนวน 40 คน ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายกรณี แต่ไม่พบระดับ และไม่พบระดับการดูแลสุขภาพที่ไม่ดีขึ้นหรือเข้าสู่สถานะผู้ป่วยรายใหม่

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
ตัวชี้วัด :

 

2 2. ประชานนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีผลการตรวจน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 (2) 2. ประชานนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีผลการตรวจน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh