กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบ
0.00

 

2 เพื่อให้ชุมชนดำเนินกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่
0.00

 

3 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่
ตัวชี้วัด : สามารถเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่ได้
0.00

 

4 เพื่อลดค่า HI CI ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานหรือเท่ากับศูนย์
ตัวชี้วัด : ค่า HI CI เท่ากับศูนย์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (2) เพื่อให้ชุมชนดำเนินกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง (3) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่ (4) เพื่อลดค่า HI CI ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานหรือเท่ากับศูนย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง หมู่ที่  1 และหมู่ที่  14  ตำบลนาปะขอ  โดย  อาสาสมัครสาธารณสุข  จนท.และจิตอาสา  จำนวน  80  คน (2) จัดทำเอกสารแผ่นพับ ให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก ให้กับประชาชน ทุกครัวเรือนในพื้นที่  หมู่ที่  1,3,9,10,11 และ  14 ตำบลนาปะขอ (3) จัดทำแผ่นป้ายไวนิลพร้อมกรอบไม้ สำหรับประชาสัมพันธ์และให้สุขศึกษาในพื้นที่ หมู่ที่  1,3,9,10,11 และ  14 ตำบลนาปะขอ หมู่ละ  2  แผ่น  6  หมู่บ้าน  จำนวน  12  แผ่น (4) จ้างถ่ายเอกสารแบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย (5) รณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง หมู่ที่  3 และหมู่ที่  11  ตำบลนาปะขอ  โดย  อาสาสมัครสาธารณสุข  จนท.และจิตอาสา  จำนวน  80  คน (6) รณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง หมู่ที่  9 และหมู่ที่  10  ตำบลนาปะขอ  โดย  อาสาสมัครสาธารณสุข  จนท.และจิตอาสา  จำนวน  80  คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh