กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างเจตคติที่ดีให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อการเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30 - 70 ปี ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องโรคมะเร็งเต้านมมากขึ้นสามารถตรวจหาก้อนมะเร็งได้ด้วยตนเอง โดยผ่านการประเมินทักษะ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ได้อย่างถูกต้องจากเจ้าหน้าที่
80.00 80.00

สตรีอายุ30-70ปีมีความสมัครใจเข้าร่วมโครงการโดยผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมด้วยตัวเองได้อย่างถูกต้อง

2 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งระยะลุกลามในสตรี และเพิ่มอัตรารอดชีวิตจากโรคมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพสตรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 20 (สะสม 5 ปี เท่ากับร้อยละ 80 ) ของสตรีอายุ 30 – 70 ปี มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกมากขึ้นและได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
80.00 80.00

สตรีอายุ30-70ปีที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก และเข้าร่วมตรวจคักรอง ปี2563 ร้อยละ 20

3 เพื่อให้สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที
ตัวชี้วัด : สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที คิดเป็นร้อยละ 100
80.00 80.00

ไม่พบสตรีที่ต้องส่งต่อไปยังโรงพยาบาล

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเจตคติที่ดีให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อการเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งระยะลุกลามในสตรี และเพิ่มอัตรารอดชีวิตจากโรคมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพสตรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) เพื่อให้สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ (2) รณรงค์เชิงรุกในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh