กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ผลการดำเนินงาน -เด็กก่อนวันเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ -เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเติบโตสมวัย -ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการในเด็ก 2-4 ปี 2.ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด -บรรลุวัตถุประสงค์ -จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 80 คน 3.การเบิกจ่ายงบประมาณ 1.ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ป้าย เป็นงิน      288    บาท 2.ค่าตอบแทนวิทยากร 1 ชมๆละ 600  เป็นเงิน      600    บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน  2,000    บาท 4.ค่าอาหารเข้าสำหรับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ เป็นเงิน 23,460    บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  26,348.- บาท (สองหมี่นหกพันสามร้อยสี่สิบแปดบาทถ้วน)

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนการในกลุ่มเด็กวัยก่อนเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : เด็กเล็กได้รับการประเมินโภชนาการการคิดเป็นร้อยละ 90

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยก่อนเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
ตัวชี้วัด : เด็กเล็กมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 90

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 2-4 ปี
ตัวชี้วัด : เด็กเล็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัยคิดเป็นร้อยละ 90

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนการในกลุ่มเด็กวัยก่อนเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยก่อนเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (3) เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 2-4 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh