กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา


“ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๓ ”

ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายเนรศ ดวงยอด

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๓

ที่อยู่ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 22/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๓ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๓



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๓ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,583.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก และ โรคไข้มาลาเรีย นับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐ เอกชน ท้องถิ่น ตลอดจนภาคประชาชน พบว่าปัญหาของโรคไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา โดยเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทัพหลวง ประกอบด้วยหมู่ที่ ๑,๗ และ ๘ พบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก และ โรคไข้มาลาเรียในปี เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก และ โรคไข้มาลาเรียมาอย่างต่อเนื่อง โดยพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ในปี ๒๕๖๒ จำนวน ๖ ราย อัตราป่วย ๐,๑๓ ต่อแสนประชากร จากปี ๒๕๖๑ พบจำนวน ๒ ราย  และพบผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย ในปี ๒๕๖๒ พบ  ๙ ราย อัตราป่วย ๐.๑๙ ต่อแสนประชากร จากในปี ๒๕๖๑ ที่พบ ๕ ราย  (ที่มา : จากรายงานการระบาดอำเภอสะบ้าย้อย) ไม่มีผู้ป่วยตายในพื้นที่ตำบลคูหา จักเห็นได้ว่าจำนวนผู้ป่วยพบมากกว่าปีที่แล้วซึ่งเข้ากับนิยามหลักการระบาดที่ว่าระบาดหนัก ๑ปี เว้น ๒ ปี โดยปี ๒๕๖๒ คาดการณ์ว่าจะเป็นปีที่จะมีการระบาดสูง แต่ผลที่ออกมาถือว่าอัตราป่วยยังไม่เกินเกณฑ์ค่ามาตรฐานที่กำหนดคือ ไม่เกิน ๕๐ ต่อ แสนประชากร ซึ่งหมายถึงเราสามารถควบคุมการระบาดของโรคในปีที่น่าจะระบาดสูงได้สำเร็จอยู่ในระดับที่น่าพอใจ ทั้งนี้เป็นผลจากการดำเนินโครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทัพหลวง โดยได้รับการสนับสนุนเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคูหา ต่อเนื่องทุกปี
ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดต่อดังกล่าวที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคติดต่อ เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคฯ เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ปัจจุบันในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทัพหลวง พบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก และ โรคไข้มาลาเรีย มีแนวโน้มและทิศทางที่ดีขึ้น แต่ก็ยังพบผู้ป่วยเกิดขึ้นทุกปี ซึ่งจำเป็นต้องทำการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุม เพื่อให้สถานการณ์ของโรคกลับอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนแรงและเป็นการป้องกันอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทัพหลวง ภายใต้การสนับสนุนของ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลคูหา ในนามกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลคูหา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรีย ตลอดจนโรคอุบัติการณ์ซ้ำ และ โรคอุบัติการณ์ใหม่ ที่ทันท่วงที

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรียของประชากรในชุมชน
  2. เพื่อป้องกันอัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรียของประชากรในชุมชน
  3. เพื่อบริหารจัดการควบคุมแหล่งรังโรคในชุมชน แบบบูรณาการ มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามเกณฑ์กำหนด
  4. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรียที่ต่อเนื่องเข้มแข็งและยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. อัตราป่วยไข้เลือดออกปี ๒๕๖๒ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานปี๕๘-๖๒ ๒. หมู่บ้าน / ชุมชนสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ ๓. อัตราป่วยไข้มาลาเรียปี ๒๕๖๓ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานปี ๕๘-๖๒ ๔. หมู่บ้าน / ชุมชนสามารถควบคุมโรคไข้มาลาเรียได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ๕. สภาพแวดล้อมของหมู่บ้านมีความสะอาดขึ้น
    ๖. สถานบริการ โรงเรียน วัด มัสยิด ครัวเรือน ปลอดลูกน้ำยุงลาย (สุ่มประเมินผล HI CI )   - รพ.สต./รร. ค่า CI = ๐ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐   - ศาสนสถาน ค่า CI น้อยกว่า ๕         - ชุมชน ค่า HI < ๑๐ ๗. ทีมภาคีเครือข่าย มีศักยภาพ และความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่เชื้อ  มาตรการ ๓ : ๑ : ๑ ที่มีคุณภาพ เกิดประสิทธิผลในการดำเนินการ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรียของประชากรในชุมชน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อป้องกันอัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรียของประชากรในชุมชน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อบริหารจัดการควบคุมแหล่งรังโรคในชุมชน แบบบูรณาการ มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามเกณฑ์กำหนด
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    4 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรียที่ต่อเนื่องเข้มแข็งและยั่งยืน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรียของประชากรในชุมชน (2) เพื่อป้องกันอัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรียของประชากรในชุมชน (3) เพื่อบริหารจัดการควบคุมแหล่งรังโรคในชุมชน แบบบูรณาการ มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามเกณฑ์กำหนด (4) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรียที่ต่อเนื่องเข้มแข็งและยั่งยืน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๓ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเนรศ ดวงยอด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด