กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีการอบรมให้ความรู้นักเรียน 70 คน จัดกิจกรรมออกกำลังกายโดยใช้รอกกะลาไว้ออกกำลังกายที่โรงเรียนแอละยางยืดสำหรับออกกำลังกายที่บ้าน ประเมินภาวะโภชนาการอบที่1 รร.บ้านทุ่งดินลุ่ม มีเด็กน้ำหนักเกินเกณฑ์ จำนวน 23 คน ร้อยละ 10.90 รอบที่2 นำ้หนักเกินเกณฑ์ 29 คน คิดเป็นร้อยละ 13.55 รร.บ้านป่าแก่บ่อหิน รอบแรก น้ำหนักเกินเกณฑ์ 23 คน ร้อยละ 10.90 รอบที่2 น้ำหนักเกินเกณฑ์ 33 คน ร้อยละ 20.24

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและปฏิบัติได้ถูกต้อง ร้อยละ 80
80.00

อบรมให้ความรู้นักเรียน 70 คน

2 เพื่อส่งเสริมสุขภาพสุขภาพนักเรียนที่มีภาวะอ้วนให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : เด็ก5-12ปี มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกินร้อยละ 10
20.24

รอบที่1 รร.บ้านทุ่งดินลุ่ม มีเด็กน้ำหนักเกินเกณฑ์ จำนวน 23 คน ร้อยละ 10.90 รอบที่2 นำ้หนักเกินเกณฑ์ 29 คน คิดเป็นร้อยละ 13.55 รร.บ้านป่าแก่บ่อหิน รอบแรก น้ำหนักเกินเกณฑ์ 23 คน ร้อยละ 10.90 รอบที่2 น้ำหนักเกินเกณฑ์ 33 คน ร้อยละ 20.24

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 70
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพสุขภาพนักเรียนที่มีภาวะอ้วนให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่จัดอบรมให้ความรู้นักเรียน 70 คน จัดประเมินภาวะโภชนาการ2 โรงเรียน เปรียบเทียบครั้งที่1และครั้งที่2 พบว่ายังไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น จึงไม่บรรลุตจามวัตถุประสงค์ของโครงการ เพราะ ภาวะโภชนาการของเด็กเกินเกณฑ์อยู่ คิดเป็นร้อยละ 10

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...จากการประเมินพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนพบว่า นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพเป็นอย่างดี แต่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหารที่เหมาะสมได้ เนื่องจากมีอาหารที่บริโภคส่วนใหญ่เป็นอาหารทอด ซื้อง่าย ผู้ปกครองไม่ได้ทำอาหารเช้าให้รับประทาน แนวทางการแก้ไข ได้แก่ การจัดกิจกรรมให้ผูั้ปกครองที่ปรุงอาหารที่บ้านและะเน้นให้นักเรียนเลือกซื้ออาหารที่ถูกหลักโภชนาการ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh