กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อเตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิน และภัยพิบัติอย่างรวดเร็วตามความต้องการของพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1. สามารถดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
0.00

 

 

4.1 สามารถจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ รายงานข้อมูลผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 4.2 สามารถดำเนินการรณรงค์ให้ความรู้กับประชาชน, อสม.และแกนนำชุมชนในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ๔.๓ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ได้ ๔.4 ดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 4.5 จัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ เพื่อเตรียมรับสถานการณ์น้ำท่วม ในการดูแลประชาชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลา 4.6 ไม่เกิดการระบาดของโรค Leptospirosis ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา 4.7 มีจำนวนประชาชนที่เข้ารับการกักตัว ณ Local Quarantine ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการกีฬา อบจ.สงขลา วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 – 30 ธันวาคม 2564 จำนวน 236 ราย ตรวจพบเชื้อ ส่งต่อ โรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา จำนวน 66 ราย และ Local Quarantine ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ(สโมสรเขาน้อย) วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 มกราคม 2565 จำนวน 138 ราย ตรวจพบเชื้อ ส่งต่อ โรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา จำนวน 108 ราย

2 2. เพื่อลดอัตราป่วย ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 2. ลดอัตราป่วยและภาวะแทรกซ้อนจากโรคและภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ
0.00

 

 

4.1 สามารถจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ รายงานข้อมูลผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 4.2 สามารถดำเนินการรณรงค์ให้ความรู้กับประชาชน, อสม.และแกนนำชุมชนในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ๔.๓ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ได้ ๔.4 ดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 4.5 จัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ เพื่อเตรียมรับสถานการณ์น้ำท่วม ในการดูแลประชาชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลา 4.6 ไม่เกิดการระบาดของโรค Leptospirosis ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา 4.7 มีจำนวนประชาชนที่เข้ารับการกักตัว ณ Local Quarantine ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการกีฬา อบจ.สงขลา วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 – 30 ธันวาคม 2564 จำนวน 236 ราย ตรวจพบเชื้อ ส่งต่อ โรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา จำนวน 66 ราย และ Local Quarantine ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ(สโมสรเขาน้อย) วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 มกราคม 2565 จำนวน 138 ราย ตรวจพบเชื้อ ส่งต่อ โรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา จำนวน 108 ราย