กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

3.1 มีการประชุมเพื่อติดตามสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
3.2 ขอความอนุเคราะห์กองวิชาการและแผนงานในการประชาสัมพันธ์ฝ่ายสื่อต่างๆ 3.3 ประสานงานกับสำนักปลัดในการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เช่น ไวนิล รถประชาสัมพันธ์ 3.4 ดำเนินการจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และวิธีการป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 3.5 ดำเนินการเฝ้าระวังและสังเกตอาการกลุ่มเสี่ยงใน Local Quarantine 3.6 ให้ความรู้กับประชาชน, อสม.และแกนนำชุมชน ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา เกี่ยวกับการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
3.7 ติดตามเยี่ยมประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนและสนับสนุนหน้ากากและเจลแอลกอฮอล์ให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงร่วมกับผู้บริหารเทศบาลนครสงขลา 3.8 ติดตามและเฝ้าระวังสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) และแจ้งให้ประชาชนทราบถึงสถานการณ์เป็นระยะๆ พร้อมทั้งวางแผนการป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 3.9 การลงปฏิบัติงานเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง / ชุมชนที่มีการระบาดของโรค เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) งานป้องกันเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ ร่วมกับ PCU ชลาทัศน์ กุโบร์ พาณิชย์ สมิหลา ใจกลาง โรงพยาบาลสงขลา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองสงขลา (ตามแผนปฏิบัติการ)
3.10 ติดตามประเมินอาการ และรับ – ส่งผู้ป่วย เพื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล 3.11 สนับสนุนสารเคมีกำจัดหนูให้แก่ประชาชน ในเขตเทศบาลนครสงขลา

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิน และภัยพิบัติอย่างรวดเร็วตามความต้องการของพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1. สามารถดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
0.00

4.1 สามารถจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ รายงานข้อมูลผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 4.2 สามารถดำเนินการรณรงค์ให้ความรู้กับประชาชน, อสม.และแกนนำชุมชนในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ๔.๓ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ได้ ๔.4 ดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 4.5 จัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ เพื่อเตรียมรับสถานการณ์น้ำท่วม ในการดูแลประชาชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลา 4.6 ไม่เกิดการระบาดของโรค Leptospirosis ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา 4.7 มีจำนวนประชาชนที่เข้ารับการกักตัว ณ Local Quarantine ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการกีฬา อบจ.สงขลา วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 – 30 ธันวาคม 2564 จำนวน 236 ราย ตรวจพบเชื้อ ส่งต่อ โรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา จำนวน 66 ราย และ Local Quarantine ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ(สโมสรเขาน้อย) วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 มกราคม 2565 จำนวน 138 ราย ตรวจพบเชื้อ ส่งต่อ โรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา จำนวน 108 ราย

2 2. เพื่อลดอัตราป่วย ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 2. ลดอัตราป่วยและภาวะแทรกซ้อนจากโรคและภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ
0.00

4.1 สามารถจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ รายงานข้อมูลผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 4.2 สามารถดำเนินการรณรงค์ให้ความรู้กับประชาชน, อสม.และแกนนำชุมชนในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ๔.๓ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ได้ ๔.4 ดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 4.5 จัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ เพื่อเตรียมรับสถานการณ์น้ำท่วม ในการดูแลประชาชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลา 4.6 ไม่เกิดการระบาดของโรค Leptospirosis ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา 4.7 มีจำนวนประชาชนที่เข้ารับการกักตัว ณ Local Quarantine ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการกีฬา อบจ.สงขลา วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 – 30 ธันวาคม 2564 จำนวน 236 ราย ตรวจพบเชื้อ ส่งต่อ โรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา จำนวน 66 ราย และ Local Quarantine ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ(สโมสรเขาน้อย) วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 มกราคม 2565 จำนวน 138 ราย ตรวจพบเชื้อ ส่งต่อ โรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา จำนวน 108 ราย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 60000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิน             และภัยพิบัติอย่างรวดเร็วตามความต้องการของพื้นที่ (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วย ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh