กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง ปี 2564 จังหวัดปัตตานี

ประเมินกองทุนฯอบต.กะมิยอ โดยพี่เลี้ยงนางสาวรอฮิหม๊ะ จูบิง ,นายรอมซี สาและ ,นายอับดุลกอเดร์ การีนา25 สิงหาคม 2564
25
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เชิญจนท.กองทุนมาพบพี่เลี้ยง ณ ห้องประชุมอบต.บานา
2.มีการใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี64 และใช้ Google form ร่วมกันเพื่อให้พี่เลี้ยงได้ทำการตรวจสอบความถูกต้อง ตรงตามระเบียบกองทุน หรือไม่อย่างไร และแนะนำเติมเต็มในบางประเด็นให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ไล่ตามแบบประเมินฯเป็นข้อๆ จำนวน 10 ข้อ 3.การใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่งhttps://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบรายละเอียดต่างๆเพิ่มเติม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) มีคำสั่งครบองค์ประกอบ
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564บันทึกข้อมูลครบถ้วน 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช.บันทึกข้อมูลครบถ้วน 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท.บันทึกข้อมูลครบถ้วน 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปีบันทึกข้อมูลครบถ้วน
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหารบันทึกข้อมูลสมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปีมีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4)มีถูกต้องสมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) โครงการเลี้ยงลูกอย่างไรในสังคมปัจจุบัน 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (เกณฑ์การนิเทศติดตามฯ สามารถเลือกคำตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ) ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุน 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) โครงการรู้เท่าทันมะเร็ง 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (เกณฑ์การนิเทศติดตามฯ สามารถเลือกคำตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ) วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุน 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) โครงการฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลูกเยาวชนรุ่นใหม่ หัวใจสีขาว 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (เกณฑ์การนิเทศติดตามฯ สามารถเลือกคำตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ) วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุน 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) โครงการยุวชนฟันสวย วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุน 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) โครงการหนูน้อยฟันสวย สุขภาพดี ศพด.กะมิยอ เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุน 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) โครงการผู้สูงอายุใส่ใจสุขภาพ (กิจกรรมทางกาย) ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการกลับมายังกองทุน 7.7 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) (ชื่อโครงการ) โครงการปฏิบัติการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด19 ที่มาของปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม เอกสารประกอบการเบิกถูกต้อง เอกสารรับเงินครบถ้วน 7.8 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) ไม่มี 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19 ถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) ดำเนินการถูกต้อง 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกันถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30%