กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง ปี 2564 จังหวัดปัตตานี

ประเมินกองทุนฯเทศบาลตำบลพ่อมิ่ง โดยพี่เลี้ยงนายรอมซี สาและ ,นายอับดุลกอเดร์ การีนา,นางซัมซีย๊ะ ดูมาลี27 สิงหาคม 2564
27
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เชิญจนท.กองทุนประชุมzoom เฉพาะอำเภอปะนาเระโดยพี่เลี้ยง 2.มีการใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี64 และใช้ Google form ร่วมกันเพื่อให้พี่เลี้ยงได้ทำการตรวจสอบความถูกต้อง ตรงตามระเบียบกองทุน หรือไม่อย่างไร และแนะนำเติมเต็มในบางประเด็นให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ไล่ตามแบบประเมินฯเป็นข้อๆ จำนวน 10 ข้อ 3.การใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่งhttps://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบรายละเอียดต่างๆเพิ่มเติม 4.จนท.กองทุนถ่ายภาพคำสั่งกองทุนต่างๆ, โครงการปี63 และหลักฐานอื่นๆส่งมาทางกลุ่มไลน์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ) มีคำสั่งครบองค์ประกอบ
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 บันทึกข้อมูลครบถ้วน 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. บันทึกข้อมูลครบถ้วน 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. บันทึกข้อมูลครบถ้วน 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี บันทึกข้อมูลครบถ้วน
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีถูกต้องสมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) โครงการเสี่ยงได้ ลดได้ 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (เกณฑ์การนิเทศติดตามฯ สามารถเลือกคำตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ) ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) โครงการครอบครัวโภชนาการสร้างเด็กปัตตานีสูงดีสมส่วน 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (เกณฑ์การนิเทศติดตามฯ สามารถเลือกคำตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ) ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) โครงการการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในสถานศึกษา 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (เกณฑ์การนิเทศติดตามฯ สามารถเลือกคำตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ) ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) โครงการส่งเสริมสุขภาพและพลานามัย 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (เกณฑ์การนิเทศติดตามฯ สามารถเลือกคำตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ) ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) โครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
    7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (เกณฑ์การนิเทศติดตามฯ สามารถเลือกคำตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ) ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) โครงการเฝ้าระวังและป้องกันไวรัสโคโรนาใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (เกณฑ์การนิเทศติดตามฯ สามารถเลือกคำตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ) ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม 7.7 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) (ชื่อโครงการ) โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) ในเขตพื้นที่ตำบลพ่อมิ่ง 7.7 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(5) (เกณฑ์การนิเทศติดตามฯ สามารถเลือกคำตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ) ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์สอดคล้องกับปัญหา ค่าใช้จ่ายเหมาะสม 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) ดำเนินการถูกต้อง 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ