กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมทีมพี่เลี้ยง จ.นราธิวาส 10 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

Audit กองทุนจังหวัดนราธิวาส 10 พ.ย. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพ ทต.กะลุวอเหนือ โดย อัฟนัน รุสลัน มะยุนัน ศิริภา 17 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coaching กองทุนสุขภาพ อบต.ตะปอเยาะ อัฟนัน รุสลัน มะยูนัน ศิริภา 17 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก โดยสวรรค์/ฟาตีฮะ/นูรไอนี/มูหมัด/อัสบาฮา 17 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ โดย เสรี/อภินันท์/ซากีนา/สุรียา 17 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coaching กองทุนสุขภาพ ทม.ตากใบ อัฟนัน รุสลัน มะยูนัน ศิริภา 17 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coaching กองทุนสุขภาพ ทต.ยี่งอ อัฟนัน รุสลัน มะยูนัน ศิริภา 17 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน Coaching กองทุนสุขภาพ อบต.เกาะสะท้อน อัฟนัน รุสลัน มะยูนัน ศิริภา 17 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงมัส โดยสวรรค์/ฟาตีฮะ/นูรไอนี/มูหมัด/อัสบาฮา 17 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เฉลิม โดยสวรรค์/ฟาตีฮะ/นูรไอนี/มูหมัด/อัสบาฮา 17 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา โดยสวรรค์/ฟาตีฮะ/นูรไอนี/มูหมัด/อัสบาฮา 17 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ โดยสวรรค์/ฟาตีฮะ/นูรไอนี/มูหมัด/อัสบาฮา 17 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพ ทต.ปาเสมัส โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 23 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพ อบต.สุไหงปาดี โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 25 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพ อบต.ปะลุรู โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 28 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพ อบต.ริโก๋ โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 29 ธ.ค. 2563

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพ อบต.สากอ โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 5 ม.ค. 2564

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพ อบต.โละจูด โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 6 ม.ค. 2564

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศรีบรรพต โดย เสรี/อภินันท์/ซากีนา/สุรียา 8 ม.ค. 2564

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพ อบต.ภูเขาทอง โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 8 ม.ค. 2564

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง โดย เสรี/อภินันท์/ซากีนา/สุรียา 15 ม.ค. 2564

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะมะยูง โดย เสรี/อภินันท์/ซากีนา/สุรียา 19 เม.ย. 2564

 

 

 

 

 

สนับสนุน coaching กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลูโบะสาวอ โดย เสรี/อภินันท์/ซากีนา/สุรียา 19 เม.ย. 2564

 

 

 

 

 

ประชุมวางแผนทีมพี่เลี้ยง จ.นราธิวาส ครั้งที่ 1 17 ธ.ค. 2563 17 ธ.ค. 2563

 

ประชุมคณะทำงาน (พี่เลี้ยงกองทุนฯ) ตามระเบียบวาระ ดังนี้ ระเบียบวาระที่ 1 เรื่อง ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่อง รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา ระเบียบวาระที่ 3 เรื่อง เพื่อทราบ       3.1 แนะนำคณะทำงานสนับสนุนกองทุนฯ (พี่เลี้ยงกองทุนฯ) จังหวัดนราธิวาส ประจำปี 2564 ระเบียบวาระที่ 4 เรื่อง เพื่อพิจารณา       4.1 การแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ ในการสนับสนุนกองทุนฯ (Coaching) จำนวน 22 กองทุน       4.2 การแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ ในการประเมินผล และติดตามการดำเนินงานกองทุนฯ (Audit) จำนวน 27 กองทุน
      4.3 การบันทึกกิจกรรมการสนับสนุนกองทุนฯ ในเว็ปไซต์กองทุนสุขภาพตำบล (www.localfund.happnetwork.org)
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่อง อื่น ๆ (ถ้ามี)

 

คณะทำงานสนับสนุนกองทุนฯ (พี่เลี้ยงกองทุนฯ) จังหวัดนราธิวาส รับทราบ และมีมติเห็นชอบ ตามระเบียบวาระที่กำหนด (รายงานการประชุม แนบท้าย)

 

Audit กองทุน อบต.พร่อน โดย อัฟนัน รุสลัน มะยูนัน สิริภา 17 ธ.ค. 2563 6 ก.ค. 2564

 

  1. ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์
  2. ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์
  3. ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ
        รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

Audit กองทุน อบต.โฆษิต โดย อัฟนัน รุสลัน มะยูนัน สิริภา 17 ธ.ค. 2563 7 ก.ค. 2564

 

  1. ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์
  2. ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์
  3. ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ
        รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

Audit กองทุน อบต.บางขุนทอง โดย อัฟนัน รุสลัน มะยูนัน สิริภา 17 ธ.ค. 2563 7 ก.ค. 2564

 

  1. ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์
  2. ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์
  3. ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ
        รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

Audit กองทุน อบต.มะนังตายอ โดย อัฟนัน รุสลัน มะยูนัน สิริภา 17 ธ.ค. 2563 13 ก.ค. 2564

 

  1. ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์
  2. ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์
  3. ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ
      รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

Audit กองทุน อบต.กาหลง โดย เสรี/อภินันท์/ซากีนา/สุรียา 17 ธ.ค. 2563 13 ก.ค. 2564

 

  1. ประสานการลงพื้นที่เพื่อการทวนสอบหรือ audit การบริหารกองทุนสุขภาพ อบต.กาหลง ผลงานปี 2563 เพื่อเตรียมเอกสารประกอบการทวนสอบตามแบบฟอร์มใน google form

2.ใช้โปรแกรมของกองทุนฯ https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบรายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  • มีการบริหารกองทุนฯระดับ ดี/พอใช้/ ต้องปรับปรุง
    ประเด็นที่แนะนำ
    1. ควรจัดทำคำสั่ง แต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อช่วยในการดำเนินงานกองทุนฯ
    2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนฯตามประกาศฯ ฉ. 61 กำหนดให้ แต่งตั้งคณะกรรมการ พบว่า คำสั่ง มีความถูกต้อง โดยมี 2.1 ที่ปรึกษากองทุน ครบ 2.2 องค์ประกอบกรรมการ. ครบ ได้แนะนำเพิ่มเติมหากมีการแก้ไขคณะกรรมการ
    3. การทำแผนการเงิน รับ-จ่ายเงิน พบว่า มีการจัดทำ แต่ไม่ถูกต้อง ได้แนะนำวิธีการที่ถูกต้องให้เจ้าหน้าที่กองทุนได้รับทราบและปฏิบัติต่อไป
    4. เงินคงเหลือในบัญชี กับระบบการเงินออนไลน์ ไม่ตรง เนื่องจากไม่ได้ดำเนินการปรับสมุดให้เป็นปัจจุบัน แนะนำให้มีการปรับสมุดบัญชีอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
    5. สุ่มโครงการแต่ละประเภท 10(2) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพดีด้วยตัวเรา ของ กลุ่มผู้สูงอายุ ม.1 บ้านกาหลง พบว่า
        - มีการดำเนินการ ถูกต้อง รายละเอียดโครงการครบถ้วน   6. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org ไม่ครบถ้วน
    6. มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ จำนวน 7 แผนงาน
    7. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มี แต่ไม่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
    8. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มี แต่ไม่สมบูรณ์
    9. มีการแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ ซึ่งได้ใช้อำนาจของประธานคณะกรรมการกองทุนฯ ตามประกาศ ฉบับที่ 3 วงเงินไม่เกิน 100,000 แต่โครงการไม่สมบูรณ์
    • โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันการระบาดของเชื้อโรคโควิด-19 และเฝ้าระวังในประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงพบว่า ยังไม่มีการบันทึกกิจกรรม และรายละเอียดโครงการ ไม่สมบูรณ์ ได้แนะนำให้ลงรายละเอียดโครงการให้สมบูรณ์
    1. การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน รวมถึงการรายงานการเงินเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ยังไม่เป็นปัจจุบัน แนะนำให้กำหนดการประชุมคณะกรรมการ รายไตรมาส เพื่อนำเสนอข้อมูลรายงานการเงินให้คณะกรรมการทราบและอนุมัต้

 

จัดทำแผนสุขภาพ อบต.ตะปอเยาะ 17 ธ.ค. 2563 1 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงได้มีการจัดกระบวนการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่อำเภอยี่งอ (เฉพาะกองทุน อบต.ตะปอเยาะ) ณ อบต.ตะปอเยาะ
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้     - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
      - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  3. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

  1. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ
  2. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน 3 แผนงาน
  3. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม
  4. มีการให้แต่ละกลุ่มเสนอโครงการเพื่อนำเข้าสู่การขอรับเงินจากองทุน จำนวน 32 โครงการ เป็นเงิน 902,135 บาท

 

จัดทำแผนสุขภาพ ทม.ตากใบ 17 ธ.ค. 2563 8 ก.พ. 2564

 

ติดตามทำแผนโครงการ

 

ได้แผนงานโครงการ

 

จัดทำแผนสุขภาพ อบต.เกาะสะท้อน 17 ธ.ค. 2563 28 พ.ค. 2564

 

1.  พี่เลี้ยงได้มีการจัดกระบวนการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่อำเภอตากใบ (เฉพาะกองทุน อบต.เกาะสะท้อน) ณ อบต.เกาะสะท้อน 2.  พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ  ดังนี้     -  การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ     -  จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
    -  การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน,  แผนอาหารและโภชนาการ,  แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19  เป็นต้น 3.  พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

1.  เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ
2.  เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน,  แผนงานอาหารและโภชนาการ,  แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน 3 แผนงาน 3.  เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม 4.  มีการให้แต่ละกลุ่มเสนอโครงการเพื่อนำเข้าสู่การขอรับเงินจากองทุน จำนวน 19 โครงการ เป็นเงิน 1,052,791 บาท

 

จัดทำแผนสุขภาพ ทต.ปาเสมัส 23 ธ.ค. 2563 1 ก.พ. 2564

 

กิจกรรม พัฒนาการทำแผนสุขภาพ เทศบาลปาเสมัส รายละเอียดกิจกรรม :
1. มีการจัดทำแผนสุขภาพกองทุน เทศบาลปาเสมัส
2. โดยจัดกระบวนการในพื้นที่ /ผ่านโปรแกรม Zoom มีผู้เข้าร่วม จำนวน20 คน ประกอบด้วย ประธานกองทุน คณะกรรมการกองทุน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย ผู้แทนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน ชมรม อสม. ..... 3. มีการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ โดย ข้อมูลสุขภาพจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผลที่ได้
1. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนอาหารและโภชนาการ แผนกิจกรรมทางกาย แผนบุหรี่ แผนสารเสพติด แผนแรงงานนอกระบบ แผนอนามัยแม่และเด็ก แผนเยาวชนและครอบครัว จำนวน 3 แผน 2. มีการให้แต่ละกลุ่มเสนอโครงการเพื่อนำเข้าสู่การขอรับเงินจากองทุน จำนวน 20 โครงการ เป็นเงิน 320040 บาท

 

  1. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ
    1. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน 10 แผนงาน
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม 4, มีการให้แต่ละกลุ่มเสนอโครงการเพื่อนำเข้าสู่การขอรับเงินจากองทุน จำนวน 20 โครงการ เป็นเงิน 320,040 บาท

 

พัฒนาการเขียนโครงการ ทต.ปาเสม้ส 23 ธ.ค. 2563 18 ก.พ. 2564

 

รายละเอียดกิจกรรม 1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพเทศบาลปาเสมัส ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ 2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ เทศบาลปาเสมัส ผลที่ได้ เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 32 โครงการ เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ

 

  1. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ
  2. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน 10 แผนงาน
  3. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม 4, มีการให้แต่ละกลุ่มเสนอโครงการเพื่อนำเข้าสู่การขอรับเงินจากองทุน จำนวน 32 โครงการ เป็นเงิน 1,971,023 บาท

 

ประเมินและติดตามโครงการ ทต.ปาเสมัส 23 ธ.ค. 2563 1 มี.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. ไม่มีการเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม
    ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    1. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    2. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    3. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

จัดทำแผนสุขภาพ ทต.กะลุวอเหนือ 24 ธ.ค. 2563 8 มี.ค. 2564

 

สอนวิการจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ เน้นหลักๆ 5 แผน

 

ได้แผนสุขภาพ 5 แผน

 

จัดทำแผนสุชภาพ อบต.สุไหงปาดี 25 ธ.ค. 2563 4 ม.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงได้มีการจัดกระบวนการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้   - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
      - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  3. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

1เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ 2. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน 33 แผนงาน 3. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่ 2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ

 

พัฒนาเขียนโครงการ อบต.สุไหงปาดี 25 ธ.ค. 2563 29 ม.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ อบต.สุไหงปาดี ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
  2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ อบต.สุไหงปาดี

 

1.เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 33 โครงการ 2. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19 กองทุนฯ และหน่วยรับทุน รู้วิธีการขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ และเขียนโครงการในระบบได้

 

ประเมินและติดตามโครงการ `อบต.สุไหงปาดี 25 ธ.ค. 2563 20 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. ไม่มีการเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม
    ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    1. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    2. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    3. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

พัฒนาเขียนโครงการ อบต.ปะลุรู 28 ธ.ค. 2563 20 เม.ย. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ อบต.ปะลุรู ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
  2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ อบต.ปะลุรู

 

1.เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ ไม่มีการเขียน 2. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19 กองทุนฯ และหน่วยรับทุน รู้วิธีการขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ และเขียนโครงการในระบบได้

 

จัดทำแผนเขียนโครงการ อบต.ปะลุรู 28 ธ.ค. 2563 27 ม.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงได้มีการจัดกระบวนการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้   - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
      - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  3. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

  1. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ
    1. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน 10 แผนงาน
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่ 2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ

 

ประเมินและติดตามโครงการ `อบต.ปะลุรู 28 ธ.ค. 2563 23 มิ.ย. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. ไม่มีการเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม
    ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    1. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    2. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    3. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

จัดทำแผนสุขภาพ อบต.ริโก๋ 29 ธ.ค. 2563 16 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงได้มีการจัดกระบวนการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ริโก๋
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้   - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
      - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  3. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

1เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ 2. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน  10 แผนงาน 3. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่ 2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ

 

พัฒนาเขียนโครงการ อบต.ริโก๋ 29 ธ.ค. 2563 1 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ อบต.ริโก๋ ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
  2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ อบต.ริโก๋

 

1.เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 10 โครงการ
2. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19 กองทุนฯ และหน่วยรับทุน รู้วิธีการขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ และเขียนโครงการในระบบได้

 

ประเมินและติดตามโครงการ `อบต.ริโก๋ 29 ธ.ค. 2563 24 มี.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. ไม่มีการเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม
    ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    1. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    2. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    3. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

จัดทำแผนสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก 4 ม.ค. 2564 24 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อประสานผู้รับผิดชอบ และหน่วยรับทุน
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้     - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
      - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  3. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ หน่วยรับทุน ในเรื่องของกระบวนการจัดทำแผนฯ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การจัดทำแผน การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนตำบล การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 1 โครงการกองทุนมีการจัดทำแผน ผู้รับผิดชอบได้รับความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผน

 

จัดทำแผนสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ตันหยงมัส 5 ม.ค. 2564 24 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อประสานผู้รับผิดชอบ และหน่วยรับทุน
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้     - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
      - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  3. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ หน่วยรับทุน ในเรื่องของกระบวนการจัดทำแผนฯ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การจัดทำแผน การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนตำบล การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 1 โครงการกองทุนมีการจัดทำแผน ผู้รับผิดชอบได้รับความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผน

 

พัฒนาเขียนโครงการ อบต.สากอ 5 ม.ค. 2564 1 มี.ค. 2564

 

กิจกรรม ประเมินผลโครงการ รายละเอียดกิจกรรม 1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้ 2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่/ หรือ ใช้โปรแกรม zoom ไปยังกองทุนสุขภาพตำบลสากอ เมื่อวันที่...........เดือน...................พ.ศ..................... 3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 15 โครงการ
  2. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    1. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    2. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    3. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19 กองทุนฯ และหน่วยรับทุน รู้วิธีการขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ และเขียนโครงการในระบบได้

 

จัดทำแผนเขียนโครงการ อบต.สากอ 5 ม.ค. 2564 16 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงได้มีการจัดกระบวนการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ
    1. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้   - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
        - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

  1. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ
    1. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน 15 แผนงาน
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม 4, มีการให้แต่ละกลุ่มเสนอโครงการเพื่อนำเข้าสู่การขอรับเงินจากองทุน จำนวน 15 โครงการ เป็นเงิน 1,022,328 บาท

 

ประเมินและติดตามโครงการ `อบต.สากอ 5 ม.ค. 2564 31 มี.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 15 โครงการ

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

จัดทำแผนสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบลอบต.เฉลิม 6 ม.ค. 2564 24 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อประสานผู้รับผิดชอบ และหน่วยรับทุน
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้     - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
      - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  3. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ หน่วยรับทุน ในเรื่องของกระบวนการจัดทำแผนฯ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การจัดทำแผน การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนตำบล การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 1 โครงการกองทุนมีการจัดทำแผน ผู้รับผิดชอบได้รับความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผน

 

จัดทำแผนเขียนโครงการ อบต.โละจูด 6 ม.ค. 2564 5 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงได้มีการจัดกระบวนการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด
    1. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้   - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
        - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

  1. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ
    1. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน 10 แผนงาน
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม 4, มีการให้แต่ละกลุ่มเสนอโครงการเพื่อนำเข้าสู่การขอรับเงินจากองทุน จำนวน 22 โครงการ เป็นเงิน 259,550 บาท

 

พัฒนาเขียนโครงการ อบต.โละจูด 6 ม.ค. 2564 25 ก.พ. 2564

 

1.พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ อบต.โละจูด ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ 2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ อบต.โละจูด

 

  1. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 22 โครงการ
  2. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    1. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    2. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    3. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19 กองทุนฯ และหน่วยรับทุน รู้วิธีการขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ และเขียนโครงการในระบบได้

 

ประเมินและติดตามโครงการ `อบต.โละจูด 6 ม.ค. 2564 31 มี.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 22 โครงการ

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

จัดทำแผนสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบลอบต.กาลิซา 7 ม.ค. 2564 23 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อประสานผู้รับผิดชอบ และหน่วยรับทุน
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้     - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
      - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  3. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ หน่วยรับทุน ในเรื่องของกระบวนการจัดทำแผนฯ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การจัดทำแผน การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนตำบล การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 1 โครงการกองทุนมีการจัดทำแผน ผู้รับผิดชอบได้รับความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผน

 

จัดทำแผนสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ตันหยงลิมอ 8 ม.ค. 2564 23 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อประสานผู้รับผิดชอบ และหน่วยรับทุน
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้     - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
      - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  3. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ หน่วยรับทุน ในเรื่องของกระบวนการจัดทำแผนฯ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การจัดทำแผน การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนตำบล การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 1 โครงการกองทุนมีการจัดทำแผน ผู้รับผิดชอบได้รับความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผน

 

จัดทำแผนเขียนโครงการ อบต.ภูเขาทอง 8 ม.ค. 2564 5 มี.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงได้มีการจัดกระบวนการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ภูเขาทอง
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้   - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
      - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  3. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป
  4. ได้จัดเขียนแผนโครงการทั้งหมด 6 โครงการ จำนวนงบประมาณ 133,692 บาท

 

1เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ 2. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน  6 โครงการ 3. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่

 

พัฒนาเขียนโครงการ อบต.ภูเขาทอง 8 ม.ค. 2564 3 พ.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ อบต.ภูเขาทอง ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
  2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ อบต.ภูเขาทอง

 

1.เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 6 โครงการ จำนวนงบประมาณ 133,692 บาท 2. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19 กองทุนฯ และหน่วยรับทุน รู้วิธีการขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ และเขียนโครงการในระบบได้

 

ประเมินและติดตามโครงการ อบต.ภูเขาทอง 8 ม.ค. 2564 30 มิ.ย. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. ไม่มีการเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม
    ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    1. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    2. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    3. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

จัดทำแผนสุขภาพ อบต.บาเจาะ 10 ม.ค. 2564 5 มี.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงได้มีการจัดกระบวนการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ
    1. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้
    • การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
    • จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
    • การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

  1. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ
    1. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน 10 แผนงาน
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม 4, มีการให้แต่ละกลุ่มเสนอโครงการเพื่อนำเข้าสู่การขอรับเงินจากองทุน จำนวน 10 โครงการ เป็นเงิน 322,510 บาท

 

Audit กองทุน อบต.สุคิริน โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 12 ม.ค. 2564 12 ก.พ. 2564

 

  1. ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์
  2. ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์
  3. ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ
      รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

จัดทำแผนเขียนโครงการ อบต.เรียง 15 ม.ค. 2564 25 ม.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงได้มีการจัดกระบวนการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้   - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
      - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  3. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

  1. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ
  2. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน 10 แผนงาน
  3. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม 4, มีการให้แต่ละกลุ่มเสนอโครงการเพื่อนำเข้าสู่การขอรับเงินจากองทุน จำนวน 24 โครงการ เป็นเงิน 1,133,380 บาท

 

ประชุมทีมพี่เลี้ยง จ.นราธิวาส ครั้งที่ 2 18 ม.ค. 2564 18 ม.ค. 2564

 

ประชุมทีมพี่เลี้ยง คี้งที่  2
วาระการประชุม
  การติดตามลงเยี่ยม กองทุนฯ   ปัญหาที่เกิดของ กองทุนฯ   สรุปความก้าวหน้าการทำงานของ กองทุนฯ

 

ผลจากการลงเยี่ยมติดตาม กองทุนฯ บางแห่ง ยังมีการดำเนินงานยังได้ตามเป้าหมายของ เขต.12 สงขลา วางไว้  บางแห่งยังไม่ได้ดำเนินงาน  พัฒนาเขียนโครงการ  และหลายๆๆอย่าง  ทีมพี่เลี้ยงได้ให้คำแนะนำกับผู้ดูแลให้ทำและดำเนินงานตามความสามารถ ได้รับไว้     ส่วนปัญหาที่พี่เลี้ยง ที่พบ กับ กองทุนฯ แต่ละแห่ง มีปัญหา มีการเปลี่ยนมือ ผู้รับผิดชอบ มีการโอนย้าย มอบหมายงานให้คนอื่นทำต่อ ทำให้การทำงานยากลำบากขึ้น

 

พัฒนาการเขียนโครงการหน่วยงานรับทุน อบต.มะรือโบตก 1 ก.พ. 2564 1 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงแนะนำให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
    1. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ

 

  1. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ
    1. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถลงปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

พัฒนาการเขียนโครงการหน่วยงานรับทุน อบต.ตันหยงมัส 2 ก.พ. 2564 2 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ อบต.ตันหยงมัส ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
    1. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ

 

  1. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ
    1. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถลงปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

พัฒนาการเขียนโครงการหน่วยรับทุน อบต.บาเจาะ 3 ก.พ. 2564 15 ก.พ. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ อบต.บาเจาะ ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
  2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ อบต.บาเจาะ

 

  1. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 10 โครงการ
    1. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

พัฒนาการเขียนโครงการหน่วยงานรับทุน อบต.เฉลิม 3 ก.พ. 2564 31 มี.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ อบต.เฉลิม ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
  2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ

 

  1. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ
    1. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่มีความรุนแรงและขยายการติดเชื้อมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coachingในพื้นที่ได้อย่างเต็มที่
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

พัฒนาการเขียนโครงการหน่วยงานรับทุน ทม.ตากใบ 4 ก.พ. 2564 8 มี.ค. 2564

 

ติดตามทำแผนและเขียนโครงการ

 

ได้พัฒนาโครงการ

 

พัฒนาการเขียนโครงการหน่วยงานรับทุน อบต.กาลิซา 4 ก.พ. 2564 23 เม.ย. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
  2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ

 

  1. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 27 โครงการ
    1. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

พัฒนาการเขียนโครงการหน่วยงานรับทุน อบต.ตะปอเยาะ 5 ก.พ. 2564 8 เม.ย. 2564

 

รายละเอียดกิจกรรม 1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ อบต.ตะปอเยาะ ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ 2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ อบต.ตะปอเยาะ

 

  1. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 32 โครงการ
    1. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

พัฒนาการเขียนโครงการหน่วยงานรับทุน อบต.ตันหยงลิมอ 5 ก.พ. 2564 29 เม.ย. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
  2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ

 

  1. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 10 โครงการ
    1. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

Audit กองทุน อบต.กาวะ โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 8 ก.พ. 2564 16 ก.พ. 2564

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติ ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์ ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์ ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

Audit กองทุน ทต.ปะลุรู โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 8 ก.พ. 2564 12 ก.พ. 2564

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติ ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์ ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์ ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

Audit กองทุน อบต.โต๊ะเด็ง โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 9 ก.พ. 2564 20 ก.พ. 2564

 

  1. ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์
  2. ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์
  3. ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ
      รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

พัฒนาการเขียนโครงการหน่วยงานรับทุน อบต.ศรีบรรพต 12 ก.พ. 2564 18 ม.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ อบต.ศรีบรรพต ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
  2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ อบต.ศรีบรรพต

 

  1. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 1 โครงการ
  2. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    1. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    2. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    3. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19 กองทุนฯ และหน่วยรับทุน รู้วิธีการขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ และเขียนโครงการในระบบได้

 

Audit กองทุน ทต.แว้ง โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 15 ก.พ. 2564 23 ก.พ. 2564

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติ ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์ ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์ ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

พัฒนาการเขียนโครงการหน่วยงานรับทุน อบต.เกาะสะท้อน 15 ก.พ. 2564 24 มี.ค. 2564

 

แนะนำการเขียนโครงการโดยการพัฒนาโครงการ และสอนการออกรหัสให้กับหน่วยงานรับทุน

 

เพื่อให้เจ้าหน้าที่และผู้ขอรับทุนได้เข้าใจในการทำโครงการโดยการพัฒนาโครงการ

 

พัฒนาการเขียนโครงการหน่วยงานรับทุน อบต.ลุโบะสาวอ 15 ก.พ. 2564 23 มี.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ อบต.ลุโบะสาวอ ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
  2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ อบต.ลุโบะสาวอ

 

  1. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 8 โครงการ
    1. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

Audit กองทุน ทต.สุไหงโกลค โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 16 ก.พ. 2564 22 ก.พ. 2564

 

  1. ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์
  2. ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์
  3. ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ
      รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

พัฒนาการเขียนโครงการหน่วยงานรับทุน ทต.กะลุวอเหนือ 20 ก.พ. 2564 25 มี.ค. 2564

 

ได้โครงการตามที่พัฒนาไว้

 

โครงการสมบูรณ์

 

ประเมินและติดตามโครงการ อบต.มะรือโบตก 1 มี.ค. 2564 1 มี.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 1 โครงการ

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

จัดทำแผนเขียนโครงการ อบต.ศรีบรรพต 1 มี.ค. 2564 5 ม.ค. 2564

 

  1. จัดกระบวนการประชุมร่วมกันของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่อำเภอศรีสาคาร
  2. แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนงานโครงการให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้

  - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
  - ให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ โดยให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นที่เกี่ยวข้อง

 

กองทุนฯ และหน่วยรับทุนรู้วิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนงานโครงการในระบบ

 

ประเมินและติดตามโครงการ อบต.ตันหยงมัส 2 มี.ค. 2564 2 มี.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 1 โครงการ

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

ประเมินและติดตามโครงการ อบต.เฉลิม 3 มี.ค. 2564 3 มี.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 1 โครงการ

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

ประเมินและติดตามโครงการ อบต.กาลิซา 4 มี.ค. 2564 31 พ.ค. 2564

 

การประเมินยังไม่สมบูรณ์ ยังต้องติดตามโครงการบางส่วน

 

ผู้ดูแลจะแก้ไขและดำเนินการต่อไป

 

ประเมินและติดตามโครงการ อบต.ตันหยงลิมอ 5 มี.ค. 2564 12 ก.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 1 โครงการ

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

จัดทำแผนงานโครงการ ทต.ยี่งอ 19 เม.ย. 2564 20 พ.ค. 2564

 

อำเภอยี่งอ (เฉพาะกองทุน ทต.ยี่งอ) ณ สำนักงานเทศบาลตำบลยี่งอ 2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้     - การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ   - จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
  - การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น 3. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

1.  เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ
2.  ไม่เกิดการจัดทำแผนสุขภาพตั้งแต่ปี 2563- 2564 เป็นต้นมา

 

พัฒนาการเขียนโครงการ อบต.เรียง 19 เม.ย. 2564 9 มี.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ อบต.เรียง ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
  2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ อบต.เรียง

 

  1. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 28 โครงการ
    1. เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

จัดทำแผนเขียนโครงการ อบต.ตะมะยูง 19 เม.ย. 2564 7 ม.ค. 2564

 

แนะนำวิธีการ ขั้นตอนการจัดทำแผนงาน โครงการให้กองทุนฯ และหน่วยรับทุน

 

. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ 2. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน 10 แผนงาน 3. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่ 2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ

 

พัฒนาการเขียนโครงการ อบต.ตะมะยูง 19 เม.ย. 2564 18 ม.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงให้เจ้าหน้าที่กองทุนสุขภาพ อบต.ตะมะยูง ออกรหัสให้กับ หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่จะขอรับเงินจากกองทุนฯ เพื่อพัฒนาร่างโครงการฯตามที่เคยกำหนดไว้ในแผนสุขภาพ
  2. หน่วยงานและองค์กร กลุ่ม สามารถใช้การเขียนโครงการด้านสุขภาพ เพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพ อบต.ตะมะยูง

 

1.เกิดโครงการด้านสุขภาพที่เขียนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ จำนวน 4 โครงการ 2.เกิดความสะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งงบประมาณดำเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

ประเมินและติดตามโครงการ อบต.ตะมะยูง 19 เม.ย. 2564 27 พ.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 4 โครงการ

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

จัดทำแผนเขียนโครงการ อบต.ลูโบะสาวอ 19 เม.ย. 2564 25 ม.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงได้มีการจัดกระบวนการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ
  2. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่กองทุนฯ ดังนี้
    • การจัดกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งการนำเสนอข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่ จากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
    • จัดทำแผนงานในโปรแกรม เวปไซต์กองทุน www.localfund.happynetwork.org จากข้อมูลสุขภาพที่ได้รับจากหน่วยรับทุนต่าง ๆ
    • การให้หน่วยรับทุนร่วมกันเสนอโครงการที่จะดำเนินการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน ในประเด็นสุขภาพที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนบริหารจัดการกองทุน, แผนอาหารและโภชนาการ, แผนกิจกรรมทางกาย, แผนบุหรี่, แผนสารเสพติด, แผนแรงงานนอกระบบ, แผนอนามัยแม่และเด็ก, แผนเยาวชนและครอบครัว และแผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 เป็นต้น
  3. พี่เลี้ยงได้แนะนำวิธีการ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ทราบ และนำกลับไปดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

 

  1. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบวิธีการ ขั้นตอนในการจัดทำแผนสุขภาพ
  2. เกิดแผนสุขภาพกองทุน ในประเด็น แผนงานบริหารจัดการกองทุน, แผนงานอาหารและโภชนาการ, แผนงานกิจกรรมทางกาย, แผนงานบุหรี่, แผนงานสารเสพติด, แผนงานแรงงานนอกระบบ, แผนงานอนามัยแม่และเด็ก, แผนงานเยาวชนและครอบครัว, แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูในสถานการณ์โควิด-19 ในเบื้องต้น จำนวน 10 แผนงาน
  3. เจ้าหน้าที่กองทุน รับทราบถึงวิธีการในการพัฒนาการเขียนโครงการ และยินดีที่จะนำกลับไปดำเนินการต่อในพื้นที่ โดยการจัดกระบวนการ/ประชุม 4, มีการให้แต่ละกลุ่มเสนอโครงการเพื่อนำเข้าสู่การขอรับเงินจากองทุน จำนวน 8 โครงการ เป็นเงิน 809,635 บาท

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่ 2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ

 

ติดตามและประเมินผล อบต.เกาะสะท้อน 5 พ.ค. 2564 9 ส.ค. 2564

 

เยียมติดตามการประเมินโครงการ ได้ดำเนินการแล้ว

 

เสร็จสิ้น

 

ติดตามและประเมินผล อบต.ตะปอเยาะ 6 พ.ค. 2564 5 ก.ค. 2564

 

ติดตามการดำเนินงานกองทุน

 

จนท.มีการใช้ระบบอย่างต่อเนื่อง
แต่เนื่องด้วยสถานการณ์โควิด 19 โครงการบางโครงการยังไม่นำเข้าในระบบ และยังไม่เป็นปัจจุบัน

 

ติดตามและประเมินผล ทม.ตากใบ 10 พ.ค. 2564 5 เม.ย. 2564

 

เยี่ยมติดตามการประเมินโครงการ ได้ดำเนินการแล้ว

 

ดำเนินการเรียบร้อย

 

ติดตามและประเมินผล อบต.ลุโบะสาวอ 13 พ.ค. 2564 10 มิ.ย. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 8 โครงการ

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

ประเมินและติดตามโครงการ อบต.บาเจาะ 15 พ.ค. 2564 24 มิ.ย. 2564

 

ติดตามการดำเนินงานกองทุนฯ

 

จนท.มีการใช้ระบบอย่างต่อเนื่อง
แต่เนื่องด้วยสถานการณ์โควิด 19 โครงการบางโครงการยังไม่นำเข้าในระบบ และยังไม่เป็นปัจจุบัน

 

ประชุมทีมพี่เลี้ยง จ.นราธิวาส ครั้งที่ 3 19 พ.ค. 2564 6 พ.ค. 2564

 

ประชุมทีมพี่เลี้ยง ครั้งที่ 3 วาระการประชุม
  ผลการติดตามลงเยี่ยม กองทุนฯ   ปัญหาที่เกิดของ กองทุนฯ   การเตรียมการ Audit จำนวน 27 กองทุนฯ

 

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19 ส่งผลการลงเยี่ยมติดตาม กองทุนฯ บางแห่ง ไม่สามารถเข้าถึงได้ เนื่องจากเป็นพื้นที่สีแดง มีการปิดทางเข้า-ออก และเจ้าหน้าที่ไม่ได้มาปฏิบัติงาน ณ ที่ทำการ อบต. (work at home)  ซึ่งอาจจะต้องรอให้มีการเปิดทางเข้า-ออกก่อน  บางแห่งยังไม่ได้ดำเนินงาน  พัฒนาเขียนโครงการ  และหลายๆๆอย่าง  ทีมพี่เลี้ยงได้ติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์ ซึ่งได้ให้คำแนะนำกับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ
    ส่วนปัญหาที่ทีมพี่เลี้ยง พบ คือ กองทุนฯ บางแห่ง มีการเปลี่ยนผู้รับผิดชอบ เนื่องจากมีการโอนย้าย มอบหมายงานให้คนอื่นทำต่อ ทำให้การทำงานเกิดความล่าช้า

 

พัฒนาการเขียนโครงการ ทต.ยี่งอ 20 พ.ค. 2564 15 มิ.ย. 2564

 

ติดตามการดำเนินงานโครงการในระบบ ของกองทุน

 

จนท.มีการใช้ระบบอย่างต่อเนื่อง
แต่เนื่องด้วยสถานการณ์โควิด 19 โครงการบางโครงการยังไม่นำเข้าในระบบ และยังไม่เป็นปัจจุบัน

 

ประเมินและติดตามโครงการ อบต.เรียง 20 พ.ค. 2564 20 พ.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
    1. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
    2. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
    1. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
    2. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 28 โครงการ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    3. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    4. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    5. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

ติดตามและประเมินผล ทต.กะลุวอเหนือ 31 พ.ค. 2564 5 เม.ย. 2564

 

ได้ดำเนินการตามแผนที่ได้วางไว้เรียบร้อย

 

ดำเนินการเสร็จสิ้น

 

Audit กองทุน อบต.บูกิต โดยสวรรค์/ฟาตีฮะ/นูรไอนี/มูหมัด/อัสบาฮา 1 มิ.ย. 2564 6 ก.ค. 2564

 

  1. ประสาน จนท. เรื่องการลงพื้นที่เพื่อการทวนสอบหรือ Audit การบริหารกองทุนสุขภาพ อบต.บูกิต ผลงานปี 2563 ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์
  2. ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์
  3. ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ
    รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    1. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    2. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    3. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

Audit กองทุน อบต.ช้างเผือก โดยสวรรค์/ฟาตีฮะ/นูรไอนี/มูหมัด/อัสบาฮา 2 มิ.ย. 2564 15 ก.ค. 2564

 

  1. ประสานการลงพื้นที่เพื่อการทวนสอบหรือ audit การบริหารกองทุนสุขภาพ อบต.ช้างเผือก ผลงานปี 2563 เพื่อเตรียมเอกสารประกอบการทวนสอบตามแบบฟอร์มใน google form
  2. ลงพื้นที่ เพื่อทวนสอบผลงานกองทุน

 

  • มีการบริหารกองทุนฯระดับ ดี ประเด็นที่แนะนำ
    1. อบต./เทศบาล ซึ่งบริหารงานกองทุน ต้องมีคำสั่ง อบต.ช้างเผือก เพื่อแต่งตั้ง จนท.มารับผิดชอบงานกองทุนฯ
    2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนฯตามประกาศฯ ฉ. 61 กำหนดให้ อบต.ช้างเผือก แต่งตั้งคณะกรรมการ พบว่า คำสั่งมีความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ 2.1 ที่ปรึกษากองทุน มีจำนวนครบถ้วน ตามประกาศฯ ฉ. 61
      2.2 องค์ประกอบกรรมการมีความครบถ้วน
    3. การทำแผนการเงิน รับ-จ่ายเงิน พบว่าได้จัดทำ ถูกต้องตามกระบวนการ
    4. เงินคงเหลือในบัญชี กับระบบการเงินออนไลน์ มีความถูกต้อง ตรงกัน
    5. สุ่มโครงการแต่ละประเภท พบว่า กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ได้บันทึกรายละเอียดโครงการ สถานการณ์/หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์/เป้าหมาย การดำเนินงาน/กิจกรรม ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

ปัญหาอุปสรรค
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Audit ได้เต็มที่ 2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. หน่วยรับทุน มีการขอขยายเวลาในการดำเนินโครงการ ทำให้ไม่สามารถประเมินกองทุนฯ ในระยะเวลาที่วางแผนและกำหนดไว้ได้ 5. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19 6. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ยังไม่ปิดโครงการในระบบ ปีงบประมาณ 2560 ปีงบประมาณ 2562 และปีงบประมาณ 2563 เบื้องต้นได้ให้คำแนะนำเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ ในการปิดโครงการในระบบแล้ว

 

Audit กองทุน อบต.ดุซงญอ โดยสวรรค์/ฟาตีฮะ/นูรไอนี/มูหมัด/อัสบาฮา 3 มิ.ย. 2564 15 ก.ค. 2564

 

  1. ประสานการลงพื้นที่เพื่อการทวนสอบหรือ audit การบริหารกองทุนสุขภาพ อบต.ดุซงญอ ผลงานปี 2563 เพื่อเตรียมเอกสารประกอบการทวนสอบตามแบบฟอร์มใน google form
  2. ลงพื้นที่ เพื่อทวนสอบผลงานกองทุน

 

  • มีการบริหารกองทุนฯระดับ ดี ประเด็นที่แนะนำ
    1. อบต./เทศบาล ซึ่งบริหารงานกองทุน ต้องมีคำสั่ง อบต.ดุซงญอ เพื่อแต่งตั้ง จนท.มารับผิดชอบงานกองทุนฯ
    2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนฯตามประกาศฯ ฉ. 61 กำหนดให้ อบต.ดุซงญอ แต่งตั้งคณะกรรมการ พบว่า คำสั่งมีความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ 2.1 ที่ปรึกษากองทุน มีจำนวนครบถ้วน ตามประกาศฯ ฉ. 61
      2.2 องค์ประกอบกรรมการมีความครบถ้วน
    3. การทำแผนการเงิน รับ-จ่ายเงิน พบว่าได้จัดทำ ถูกต้องตามกระบวนการ
    4. เงินคงเหลือในบัญชี กับระบบการเงินออนไลน์ มีความถูกต้อง ตรงกัน
    5. สุ่มโครงการแต่ละประเภท พบว่า กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ได้บันทึกรายละเอียดโครงการ สถานการณ์/หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์/เป้าหมาย การดำเนินงาน/กิจกรรม ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

ปัญหาอุปสรรค
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1. พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Audit ได้เต็มที่ 2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. หน่วยรับทุน มีการขอขยายเวลาในการดำเนินโครงการ ทำให้ไม่สามารถประเมินกองทุนฯ ได้ในระยะเวลาที่วางแผนและกำหนดไว้ 5. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

Audit กองทุน อบต.มะรือโบออก โดยสวรรค์/ฟาตีฮะ/นูรไอนี/มูหมัด/อัสบาฮา 7 มิ.ย. 2564 15 ก.ค. 2564

 

  1. ประสาน จนท. เรื่องการลงพื้นที่เพื่อการทวนสอบหรือ Audit การบริหารกองทุนสุขภาพ อบต.มะรือโบออก ผลงานปี 2563 ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์
  2. ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์
  3. ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ
    รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
    ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
    1. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ
    2. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
    3. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

Audit กองทุน อบต.ผดุงมาตร โดยสวรรค์/ฟาตีฮะ/นูรไอนี/มูหมัด/อัสบาฮา 8 มิ.ย. 2564 15 ก.ค. 2564

 

  1. ประสานการลงพื้นที่เพื่อการทวนสอบหรือ audit การบริหารกองทุนสุขภาพ อบต.ผดุงมาตร ผลงานปี 2563 เพื่อเตรียมเอกสารประกอบการทวนสอบตามแบบฟอร์มใน google form
  2. ลงพื้นที่ เพื่อทวนสอบผลงานกองทุน

 

  • มีการบริหารกองทุนฯระดับ ดี ประเด็นที่แนะนำ
    1. อบต./เทศบาล ซึ่งบริหารงานกองทุน ต้องมีคำสั่ง อบต.ผดุงมาตร เพื่อแต่งตั้ง จนท.มารับผิดชอบงานกองทุนฯ
    2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนฯตามประกาศฯ ฉ. 61 กำหนดให้ อบต.ผดุงมาตร แต่งตั้งคณะกรรมการ พบว่า คำสั่งมีความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ 2.1 ที่ปรึกษากองทุน มีจำนวนครบถ้วน ตามประกาศฯ ฉ. 61
      2.2 องค์ประกอบกรรมการไม่ครบถ้วน ขาดผู้แทนหมู่บ้านหรือชุมชน จำนวน 1 คน เนื่องจากเสียชีวิต
    3. การทำแผนการเงิน รับ-จ่ายเงิน พบว่าได้จัดทำ ถูกต้องตามกระบวนการ
    4. เงินคงเหลือในบัญชี กับระบบการเงินออนไลน์ มีความถูกต้อง ตรงกัน
    5. สุ่มโครงการแต่ละประเภท พบว่า กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร ได้บันทึกรายละเอียดโครงการ สถานการณ์/หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์/เป้าหมาย การดำเนินงาน/กิจกรรม ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

ปัญหาอุปสรรค
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Audit ได้เต็มที่ 2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. หน่วยรับทุน มีการขอขยายเวลาในการดำเนินโครงการ ทำให้ไม่สามารถประเมินกองทุนฯ ได้ตามที่วางแผนและกำหนดไว้ได้ 5. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19 6. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร มีองค์ประกอบกรรมการไม่ครบ เนื่องจากกรรมการเสียชีวิต เบื้องต้นได้ให้คำแนะนำเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน ให้ดำเนินการคัดเลือกผู้แทนหมู่บ้านหรือชุมชน ให้เป็นไปตามประกาศ ฯ ฉ. 61

 

Audit กองทุน อบต.เชิงคีรี โดย เสรี/อภินันท์/ซากีนา/สุรียา 16 มิ.ย. 2564 20 ก.ค. 2564

 

  1. ประสานการลงพื้นที่เพื่อการทวนสอบหรือ audit การบริหารกองทุนสุขภาพ อบต.เชิงคีรี ผลงานปี 2563 เพื่อเตรียมเอกสารประกอบการทวนสอบตามแบบฟอร์มใน google form
    1. ลงพื้นที่ เพื่อทวนสอบผลงานกองทุนอบต.เชิงคีรี     3. ใช้โปรแกรมของกองทุนฯ https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบรายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  • มีการบริหารกองทุนฯระดับ ต้องปรับปรุง
    ประเด็นที่แนะนำ
    1. อบต.เชิงคีรี ควรจัดทำคำสั่ง แต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อช่วยในการดำเนินงานกองทุนฯ
    2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนฯตามประกาศฯ ฉ. 61 กำหนดให้ อบต.ิชิงคีรี แต่งตั้งคณะกรรมการ พบว่า คำสั่ง มีความถูกต้อง โดยมี 2.1 ที่ปรึกษากองทุน ครบ 2.2 องค์ประกอบกรรมการ. ครบ ได้แนะนำเพิ่มเติมหากมีการแก้ไขคณะกรรมการ
    3. การทำแผนการเงิน รับ-จ่ายเงิน พบว่า มีการจัดทำ แต่ไม่ถูกต้อง ได้แนะนำวิธีการที่ถูกต้องให้เจ้าหน้าที่กองทุนได้รับทราบและปฏิบัติต่อไป
    4. เงินคงเหลือในบัญชี กับระบบการเงินออนไลน์ ไม่ตรง เนื่องจากไม่ได้ดำเนินการปรับสมุดให้เป็นปัจจุบัน แนะนำให้มีการปรับสมุดบัญชีอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
    5. สุ่มโครงการแต่ละประเภท 10(1) โครงการจัดซื้อครุภัณฑ์ทางการแพทย์เพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงในเขต อบต.เชิงคีรี พบว่า
        - รายละเอียดโครงการ ไม่สมบูรณ์ ในส่วนของ รายละเอียดกิจกรรม ซึ่งไม่ได้ลงข้อมูลว่าจัดซื้อครุภัณฑ์อะไร   ได้ให้คำแนะนำแล้วว่า กิจกรรมไม่ควรมีแค่กิจกรรมจัดซื้อครุภัณฑ์ เพียงกิจกรรมเดียว และควรจะลงรายละเอียดกิจกรรมให้ครบว่าซื้ออะไรเท่าไหร่
        6. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org ไม่ครบถ้วน
    6. ไม่มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/
    7. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มี แต่ไม่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
    8. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มี แต่ไม่สมบูรณ์
    9. มีการแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ ซึ่งได้ใช้อำนาจของประธานคณะกรรมการกองทุนฯ ตามประกาศ ฉบับที่ 3 วงเงินไม่เกิน 100,000 แต่โครงการไม่สมบูรณ์
    • โครงการส่งแสริมและสนับสนุนการป้องกันการระบาดฯ และเฝ้าระวังในประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ได้แนะนำให้ลงรายละเอียดโครงการให้สมบูรณ์
    1. การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน รวมถึงการรายงานการเงินเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ไม่เป็นปัจจุบัน

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Audit ได้เต็มที่ 2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. หน่วยรับทุน มีการขอขยายเวลาในการดำเนินโครงการ ทำให้ไม่มีการประเมินโครงการ 5. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

Audit กองทุน ทต.ศรีสาคร โดย เสรี/อภินันท์/ซากีนา/สุรียา 22 มิ.ย. 2564 20 ก.ค. 2564

 

  1. ประสานการลงพื้นที่เพื่อการทวนสอบหรือ audit การบริหารกองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลศรีสาคร ผลงานปี 2563 เพื่อเตรียมเอกสารประกอบการทวนสอบตามแบบฟอร์มใน google form
  2. ลงพื้นที่ เพื่อทวนสอบผลงานกองทุนเทศบาลตำบลศรีสาคร
    1. ใช้โปรแกรมของกองทุนฯ https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบรายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  • มีการบริหารกองทุนฯระดับ ดี ประเด็นที่แนะนำ
    1. เทศบาลตำบลศรีสาคร ควรจัดทำคำสั่ง แต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อช่วยในการดำเนินงานกองทุนฯ
    2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนฯตามประกาศฯ ฉ. 61 กำหนดให้ อบต.ิชิงคีรี แต่งตั้งคณะกรรมการ พบว่า คำสั่ง มีความถูกต้อง โดยมี 2.1 ที่ปรึกษากองทุน ครบ 2.2 องค์ประกอบกรรมการ. ครบ ได้แนะนำเพิ่มเติมหากมีการแก้ไขคณะกรรมการ
    3. การทำแผนการเงิน รับ-จ่ายเงิน พบว่า มีการจัดทำ แต่ไม่ถูกต้อง ได้แนะนำวิธีการที่ถูกต้องให้เจ้าหน้าที่กองทุนได้รับทราบและปฏิบัติต่อไป
    4. เงินคงเหลือในบัญชี กับระบบการเงินออนไลน์ ไม่ตรง เนื่องจากไม่ได้ดำเนินการปรับสมุดให้เป็นปัจจุบัน แนะนำให้มีการปรับสมุดบัญชีอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
    5. สุ่มโครงการแต่ละประเภท 10(2) โครงการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด พบว่า
        - รายละเอียดโครงการ ไม่สมบูรณ์ ในส่วนของ การบันทึกรายละเอียดกิจกรรม
        ได้ให้คำแนะนำแล้วว่า กิจกรรมไม่ควรมีแค่กิจกรรมเพียงกิจกรรมเดียว และควรจะลงรายละเอียดกิจกรรมให้ครบถ้วน
        6. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org ถูกต้องครบถ้วน
    6. มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ จำนวน 8 แผนงาน
    7. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มี แต่ไม่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
    8. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มี แต่ไม่สมบูรณ์
    9. มีการแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ ซึ่งได้ใช้อำนาจของประธานคณะกรรมการกองทุนฯ ตามประกาศ ฉบับที่ 3 วงเงินไม่เกิน 100,000 แต่โครงการไม่สมบูรณ์
    • โครงการเฝ้าระวังป้องกันการระบาดของ COVID-19 ระลอกใหม่ ได้แนะนำให้ลงรายละเอียดและบันทึกกิจกรรมให้สมบูรณ์
    1. การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน รวมถึงการรายงานการเงินเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ไม่เป็นปัจจุบัน

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Audit ได้เต็มที่ 2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. หน่วยรับทุน มีการขอขยายเวลาในการดำเนินโครงการ ทำให้ไม่มีการประเมินโครงการ 5. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

Audit กองทุน อบต.โคกสะตอ โดย เสรี/อภินันท์/ซากีนา/สุรียา 23 มิ.ย. 2564 21 ก.ค. 2564

 

  1. ประสานการลงพื้นที่เพื่อการทวนสอบหรือ audit การบริหารกองทุนสุขภาพ อบต.โคกสะตอ โดยใช้ผลงานปี 2563 เพื่อเตรียมเอกสารประกอบการทวนสอบตามแบบฟอร์มใน google form
    1. ลงพื้นที่ เพื่อทวนสอบผลงานกองทุนอบต.โคกสะตอ
    2. ใช้โปรแกรมของกองทุนฯ https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบรายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  • มีการบริหารกองทุนฯระดับ พอใช้
      ประเด็นที่แนะนำ   1. อบต.โคกสะตอ ควรจัดทำคำสั่ง แต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อช่วยในการดำเนินงานกองทุนฯ   2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนฯตามประกาศฯ ฉ. 61 กำหนดให้ อบต.ิชิงคีรี แต่งตั้งคณะกรรมการ พบว่า คำสั่ง มีความถูกต้อง โดยมี   2.1 ที่ปรึกษากองทุน ครบ ถูกต้อง   2.2 องค์ประกอบกรรมการ. ครบ ได้แนะนำเพิ่มเติมวิธีการบันทึกข้อมูล หากมีการแก้ไขคณะกรรมการ
      3. การทำแผนการเงิน รับ-จ่ายเงิน พบว่า มีการจัดทำ แต่ไม่ถูกต้อง ได้แนะนำวิธีการที่ถูกต้องให้เจ้าหน้าที่กองทุนได้รับทราบและปฏิบัติต่อไป
    1. เงินคงเหลือในบัญชี กับระบบการเงินออนไลน์ ไม่ตรง เนื่องจากไม่ได้ดำเนินการปรับสมุดให้เป็นปัจจุบัน แนะนำให้มีการปรับสมุดบัญชีอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
    2. สุ่มโครงการแต่ละประเภท 10(1) โครงการส่งเสริมโภชนาการสำหรับศูนย์พัฒยาเด็กเล็กบ้านธรรมเจริญ พบว่า เป็นโครงการที่ได้รับการอนุมัติ และรับเงินแล้ว แต่รายละเอียดโครงการ ไม่สมบูรณ์ ยังไม่ออกรหัสโครงการ บันทึกกิจกรรมไม่ถูกต้อง       ได้ให้คำแนะนำแล้วว่า ให้ลงรายละเอียดกิจกรรมที่จะดำเนินการ ให้ครบถ้วนแล้ว
          6. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org ไม่ครบถ้วน
    3. ไม่มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/
    4. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มี แต่ไม่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
    5. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มี แต่ไม่สมบูรณ์
    6. มีการแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ ซึ่งได้ใช้อำนาจของประธานคณะกรรมการกองทุนฯ ตามประกาศ ฉบับที่ 3 วงเงินไม่เกิน 100,000 แต่โครงการไม่สมบูรณ์
    • โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) อบต.โคกสะตอ ปี 2564 ได้แนะนำให้ลงรายละเอียดโครงการให้สมบูรณ์
    1. การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน รวมถึงการรายงานการเงินเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ไม่เป็นปัจจุบัน

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Audit ได้เต็มที่ 2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. หน่วยรับทุน มีการขอขยายเวลาในการดำเนินโครงการ ทำให้ไม่มีการประเมินโครงการ 5. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

Audit กองทุน ทต.บาเจาะ โดย เสรี/อภินันท์/ซากีนา/สุรียา 29 มิ.ย. 2564 21 ก.ค. 2564

 

  1. ประสานการลงพื้นที่เพื่อการทวนสอบหรือ audit การบริหารกองทุนสุขภาพ อบต.เชิงคีรี ผลงานปี 2563 เพื่อเตรียมเอกสารประกอบการทวนสอบตามแบบฟอร์มใน google form

2.ใช้โปรแกรมของกองทุนฯ https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบรายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  • การบริหารจัดการกองทุนฯ อยู่ในระดับที่ ต้องปรับปรุง ประเด็นที่แนะนำ
    1. ควรจัดทำคำสั่ง แต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อช่วยในการดำเนินงานกองทุนฯ
    2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนฯตามประกาศฯ ฉ. 61 กำหนดให้ แต่งตั้งคณะกรรมการ พบว่า คำสั่ง มีความถูกต้อง โดยมี 2.1 ที่ปรึกษากองทุน ครบ 2.2 องค์ประกอบกรรมการ. ไม่ครบ ขาดในส่วนของผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แนะนำเพิ่มเติม ผู้ทรงคุณวุฒิ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการ
    3. การทำแผนการเงิน รับ-จ่ายเงิน พบว่า มีการจัดทำ แต่ไม่ถูกต้อง ได้แนะนำวิธีการที่ถูกต้องให้เจ้าหน้าที่กองทุนได้รับทราบและปฏิบัติต่อไป
    4. เงินคงเหลือในบัญชี กับระบบการเงินออนไลน์ ไม่ตรง เนื่องจากไม่ได้ดำเนินการปรับสมุดให้เป็นปัจจุบัน แนะนำให้มีการปรับสมุดบัญชีอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
    5. สุ่มโครงการแต่ละประเภท 10(2) โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การฉีดวัคซีนและเฝ้าระวังป้องกันโรค COVID-19 ปีงบประมาณ 2564 พบว่า
        - รายละเอียดโครงการ ไม่สมบูรณ์ ในส่วนของ รายละเอียดกิจกรรม ซึ่งไม่ได้บันทึกรายละเอียดกิจกรรมว่าทำอะไร   ได้ให้คำแนะนำแล้วว่า กิจกรรมไม่ควรมีแค่กิจกรรม เพียงกิจกรรมเดียว และควรจะลงรายละเอียดกิจกรรมให้ครบว่ามีกี่กิจกรรม ทำอะไร ที่ไหน ซื้ออะไรเท่าไหร่
        6. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org ไม่ครบถ้วน
    6. ไม่มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/
    7. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มี แต่ไม่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
    8. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มี แต่ไม่ถูกต้อง ได้แนะนำแล้วว่า โครงการบริหารจัดการกองทุนนั้น จะมีโครงการได้แค่ 1 โครงการเท่านั้น
    9. มีการแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ ซึ่งได้ใช้อำนาจของประธานคณะกรรมการกองทุนฯ ตามประกาศ ฉบับที่ 3 วงเงินไม่เกิน 100,000 แต่โครงการไม่สมบูรณ์
    • โครงการรจัดตั้งระบบกักตัวผุ้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) เทศบาลตำบลบาเจาะ ปี 2564 10(2) ชมรม อสม.ทต.บาเจาะ     พบว่า มีการดำเนินการจ่ายเงินผิดประเภท ได้แนะนำรายละเอียดอำนาจหน้าที่ของ อสม.แล้ว
    1. การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน รวมถึงการรายงานการเงินเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ยังไม่เป็นปัจจุบัน แนะนำให้กำหนดการประชุมคณะกรรมการ รายไตรมาส เพื่อนำเสนอข้อมูลรายงานการเงินให้คณะกรรมการทราบและอนุมัต้

 

Audit กองทุน อบต.กาเยาะมาตี โดย เสรี/อภินันท์/ซากีนา/สุรียา 6 ก.ค. 2564 3 ส.ค. 2564

 

  1. ประสานการลงพื้นที่เพื่อการทวนสอบหรือ audit การบริหารกองทุนสุขภาพ อบต.เชิงคีรี ผลงานปี 2563 เพื่อเตรียมเอกสารประกอบการทวนสอบตามแบบฟอร์มใน google form
    1. ใช้โปรแกรมของกองทุนฯ https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบรายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  • มีการบริหารกองทุนฯระดับ ดี/พอใช้/ ต้องปรับปรุง
      ประเด็นที่แนะนำ   1. ควรจัดทำคำสั่ง แต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อช่วยในการดำเนินงานกองทุนฯ   2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนฯตามประกาศฯ ฉ. 61 กำหนดให้ แต่งตั้งคณะกรรมการ พบว่า คำสั่ง มีความถูกต้อง โดยมี   2.1 ที่ปรึกษากองทุน ครบ   2.2 องค์ประกอบกรรมการ. ครบ ได้แนะนำเพิ่มเติมหากมีการแก้ไขคณะกรรมการ   3. การทำแผนการเงิน รับ-จ่ายเงิน พบว่า มีการจัดทำ แต่ไม่ถูกต้อง ได้แนะนำวิธีการที่ถูกต้องให้เจ้าหน้าที่กองทุนได้รับทราบและปฏิบัติต่อไป
    1. เงินคงเหลือในบัญชี กับระบบการเงินออนไลน์ ไม่ตรง เนื่องจากไม่ได้ดำเนินการปรับสมุดให้เป็นปัจจุบัน แนะนำให้มีการปรับสมุดบัญชีอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
    2. สุ่มโครงการแต่ละประเภท 10(1) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพดีด้วยตัวเรา ของ รพ.สต.กาเยาะมาตี พบว่า
          - การออกรหัสโครงการ ไม่ถูกต้อง     - รายละเอียดโครงการ ไม่สมบูรณ์ ในส่วนของ รายละเอียดกิจกรรม ซึ่งไม่ได้ลงข้อมูลว่าทำอะไรบ้าง ใช้เงินเท่าไหร่       ได้ให้คำแนะนำแล้วว่า ควรบันทึกข้อมูลกิจกรรมให้เรียบร้อย ว่าทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ ซื้ออะไรเท่าไหร่
          6. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org ไม่ครบถ้วน
    3. มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ จำนวน 7 แผนงาน
    4. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มี แต่ไม่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
    5. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มี แต่ไม่สมบูรณ์
    6. มีการแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ ซึ่งได้ใช้อำนาจของประธานคณะกรรมการกองทุนฯ ตามประกาศ ฉบับที่ 3 วงเงินไม่เกิน 100,000 แต่โครงการไม่สมบูรณ์
    • โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นืี่ (LQ) อบต.กาเยาะมาตี พบว่า ยังไม่ได้ออกรหัสโครงการ ไม่มีการบันทึกกิจกรรม และรายละเอียดโครงการ ไม่สมบูรณ์ ได้แนะนำให้ลงรายละเอียดโครงการให้สมบูรณ์
    1. การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน รวมถึงการรายงานการเงินเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ยังไม่เป็นปัจจุบัน แนะนำให้กำหนดการประชุมคณะกรรมการ รายไตรมาส เพื่อนำเสนอข้อมูลรายงานการเงินให้คณะกรรมการทราบและอนุมัต้

 

ประเมินและติดตามโครงการ อบต.ศรีบรรพต 7 ก.ค. 2564 27 พ.ค. 2564

 

  1. พี่เลี้ยงประสาน จนท.กองทุนฯ เพื่อเตรียมรูปกิจกรรม หรือ file รายงานผลโครงการ เพื่อให้ จนท.ได้ร่วมเรียนรู้
  2. พี่เลี้ยงลงพื้นที่
  3. แนะนำและฝึกปฏิบัติการบันทึกผลกิจกรรม ใส่รูปภาพ รายงานการเงิน และการประเมินคุณค่าโครงการแบบกึ่งโครงสร้างตามแบบฟอร์มประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์

 

  1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงกองทุน กับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ ในเรื่องของเอกสารการประเมินผลโครงการ
  2. กองทุนฯ เข้าใจระบบ วิธีการ รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินงานกองทุนฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่มีคุณภาพ
  3. เกิดโครงการด้านสุขภาพที่มีความสมบูรณ์ ตั้งแต่การเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพ การบันทึกกิจกรรม จนถึงการประเมินคุณค่าโครงการ จำนวน 1 โครงการ

ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ที่เพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ประกอบกับคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่าง ๆ และการห้ามให้มีการเดินทางข้ามอำเภอและข้ามจังหวัด ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ดังนี้ 1 พี่เลี้ยงกองทุนเอง ไม่สามารถที่ปฏิบัติหน้าที่ในการ Coaching ได้อย่างเต็มที่
2. เจ้าหน้าที่กองทุน มีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ต้องดำเนินการตามนโยบายของทางจังหวัด อำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของหน่วยงานตนเอง เช่น การดำเนินการจัดตั้ง LQ และการดำเนินการต่าง ๆ ใน LQ 3. หน่วยรับทุน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณแล้ว ไม่สามารถดำเนินการโครงการฯ ได้
4. เจ้าหน้าที่กองทุน รวมถึงหน่วยรับทุน ไม่สะดวกในการติดต่อสื่อสารผ่านระบบออนไลน์/ZOOM เนื่องจากภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เงื่อนเวลาที่ไม่ตรงกัน รวมถึงคำสั่ง และประกาศ ต่าง ๆ ของจังหวัดนราธิวาส ในช่วงโควิด-19

 

Audit กองทุน อบต.ปะลุกาสาเมาะ โดย เสรี/อภินันท์/ซากีนา/สุรียา 13 ก.ค. 2564 3 ส.ค. 2564

 

  1. ประสานการลงพื้นที่เพื่อการทวนสอบหรือ audit การบริหารกองทุนสุขภาพ อบต.ปะลุกาสาเมาะ ผลงานปี 2563 เพื่อเตรียมเอกสารประกอบการทวนสอบตามแบบฟอร์มใน google form

2.ใช้โปรแกรมของกองทุนฯ https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบรายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  • มีการบริหารกองทุนฯระดับ พอใช้/ ต้องปรับปรุง
      ประเด็นที่แนะนำ   1. อบต.ควรจัดทำคำสั่ง แต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อช่วยในการดำเนินงานกองทุนฯ   2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนฯตามประกาศฯ ฉ. 61 กำหนดให้ อบต.ิชิงคีรี แต่งตั้งคณะกรรมการ พบว่า คำสั่ง มีความถูกต้อง โดยมี   2.1 ที่ปรึกษากองทุน ครบ   2.2 องค์ประกอบกรรมการ. ครบ ได้แนะนำเพิ่มเติมหากมีการแก้ไขคณะกรรมการ   3. การทำแผนการเงิน รับ-จ่ายเงิน พบว่า มีการจัดทำ แต่ไม่ถูกต้อง ได้แนะนำวิธีการที่ถูกต้องให้เจ้าหน้าที่กองทุนได้รับทราบและปฏิบัติต่อไป
    1. เงินคงเหลือในบัญชี กับระบบการเงินออนไลน์ ไม่ตรง เนื่องจากไม่ได้ดำเนินการปรับสมุดให้เป็นปัจจุบัน แนะนำให้มีการปรับสมุดบัญชีอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
    2. สุ่มโครงการแต่ละประเภท 10(1) โครงการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ครั้งที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2564 พบว่า
          - รายละเอียดโครงการ ไม่สมบูรณ์ ในส่วนของ การบันทึกกิจกรรม ซึ่งมีลักษณะการซื้อของเพียงอย่างเดียว       ได้ให้คำแนะนำแล้วว่า กิจกรรมไม่ควรมีแค่กิจกรรม เพียงกิจกรรมเดียว และควรจะลงรายละเอียดกิจกรรมให้ครบว่าทำอะไร ที่ไหน
          6. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org ไม่ครบถ้วน
    3. มีการจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ จำนวน 12 แผนงาน แต่ไม่สมบูรณ์
    4. การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มี แต่ไม่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการ
    5. การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มี แต่ไม่สมบูรณ์
    6. มีการแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ ซึ่งได้ใช้อำนาจของประธานคณะกรรมการกองทุนฯ ตามประกาศ ฉบับที่ 3 วงเงินไม่เกิน 100,000 แต่โครงการไม่สมบูรณ์
    • โครงการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ครั้งที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2564
    1. การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน รวมถึงการรายงานการเงินเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ยังไม่เป็นปัจจุบัน แนะนำให้กำหนดการประชุมคณะกรรมการ รายไตรมาส เพื่อนำเสนอข้อมูลรายงานการเงินให้คณะกรรมการทราบและอนุมัต้

 

Audit กองทุน อบต.เอราวัณ โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 21 ก.ค. 2564 25 ก.พ. 2564

 

  1. ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์
  2. ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์
  3. ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ
    รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

Audit กองทุน อบต.โคกเคียน โดย อัฟนัน รุสลัน มะยูนัน สิริภา 3 ส.ค. 2564 9 ส.ค. 2564

 

  1. ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์
  2. ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์
  3. ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ
        รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

ประเมินผลและติดตามโครงการ ทต.ยี่งอ 9 ส.ค. 2564 2 ส.ค. 2564

 

ประเมินผลและติดตามโครงการของกองทุนฯ

 

มีการดำเนินการ แต่ยังไม่บันทึกในระบบ

 

Audit กองทุน ทต.บูเก๊ะตา โดย อับดุลรอฮิม/อายิ/สห้ฐ/โนรไอดา/ซูไวบ๊ะห์/อาอีซ๊ะฮ์/โนรีดา 10 ส.ค. 2564 12 ก.พ. 2564

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติ ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์ ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์ ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

Audit กองทุน อบต.มาโมง 16 ส.ค. 2564 16 ส.ค. 2564

 

  1. ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์
  2. ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์
  3. ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ
        รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

Audit กองทุน อบต.ปูโยะ 16 ส.ค. 2564 16 ส.ค. 2564

 

  1. ติดต่อ จนท.กองทุนฯ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร และระบบออนไลน์
  2. ใช้เครื่องมือแบบประเมินกองทุนปี 64 และแนะนำในบางประเด็น เพื่อให้การดำเนินงานถูกต้องสมบูรณ์
  3. ใช้โปรแกรมของกองทุนแต่ละแห่ง https://localfund.happynetwork.org เพื่อเข้าไปตรวจสอบ
      รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม

 

  1. อปท.มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงานกองทุนตำบลและกองทุน LTC
  2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กองทุน ปี 2561 และคำสั่งเพิ่มเติมหรือ เปลี่ยนแปลง (ในกรณีมีการเพิ่มเติม/ เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ)
  3. กองทุนมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนใน โปรแกรม www.localfund.happynetwork.org 3.1 กองทุนมีการบันทึกจำนวนประชากร ณ วันที่ 1 เมษายน 2564 3.2 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช. 3.3 กองทุนมีการบันทึกจำนวนเงินสมทบ จาก อปท. 3.4 กองทุนมีการบันทึกเงินดอกเบี้ย 2 ครั้ง/ปี
  4. การจัดทำแผนสุขภาพตามประเด็นของ ตำบลในโปรแกรม www.localfund.happynetwork.org/ 4.1 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนบริหาร บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 4.2 กองทุนดำเนินการบันทึกแผนสุขภาพตามประเด็นของพื้นที่ บันทึกข้อมูลบางส่วน/ไม่สมบูรณ์ 5.การจัดทำแผนการเงินรับ-จ่ายประจำปี มีและผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการฯ 6.การจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประเภท 10(4) มีไม่ถูกต้อง/ไม่สมบูรณ์ 7.การจัดทำโครงการด้านสุขภาพประเภท 10(1,2,3,5) 7.1 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.2 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(1) (ชื่อโครงการ) 7.3 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.4 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(2) (ชื่อโครงการ) 7.5 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 7.6 โครงการด้านสุขภาพ ประเภท 10(3) (ชื่อโครงการ) 8.การแก้ปัญหาโควิด-19 ในพื้นที่ 8.1 กองทุนมีโครงการแก้ปัญหาโควิด-19หรือไม่ มีถูกต้อง/สมบูรณ์ 8.2 การดำเนินการใช้อำนาจอนุมัติโครงการโดยประธานกองทุนตามประกาศ ข้อ 10/1ถูกต้องหรือไม่(ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ) 9.การจัดทำบัญชี-การเงินกองทุน 9.1 จำนวนเงินคงเหลือในระบบ-บัญชีธนาคารตรงกัน ถูกต้อง 9.2 มีการรายงานการเงินรายเดือน รายไตรมาส และรายปีโดยพิมพ์จากระบบและเสนอคณะกรรมการอนุมัติ ถูกต้อง 10.ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายและบริหารกองทุน มีหน่วยงานรับทุนที่หลากหลาย มีจำนวนเงินคงเหลือแต่ละปีไม่เกิน 30% มีการติดตามการดำเนินงานโครงการ