กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินงานตามโครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย ซึ่งพบว่าโดยทั่วไปขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้เป็นขยะที่มาจากธรรมชาติหรือสิ่งมีชีวิต สามารถย่อยสลายได้ง่ายโดยกระบวนการตามธรรมชาติเช่น เศษอาหาร ผักผลไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ใบไม้ คิดเป็นร้อยละ 46 ขยะที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้ เป็นขยะของเสียบรรจุดภัณฑ์หรือวัสดุเหลือใช้ ซึ่งสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้หรือรีไชเคิลได้ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะและกล่องเครื่องดื่ม คิดเป็นร้อยละ 42 โดยชมรม อสม. รพ.สต.บ้านทุ่่งยาว ได้ดำเนินการคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือน ขยะ 2 ประเภทมนี้ก่อน ซึ่งขยะส่วนใหญ่จากครัวเรือนในการดำเนินโครงการครั้งนี้ครัวเรือนในชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดเภัย หมู่บ้านละ 40 ครัวเรือน รวม 120 ครัวเรือน ส่งผลให้ไม่มีอัตราป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหารในพื้นที่รับผิดชอบ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาความสะอาด และสร้างธรรมนูญสุขภาพครบทั้ง 3 หมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : หมู่บ้านมีธรรมนูญสุขภาพ 3 หมู่บ้าน
3.00 3.00 3.00

 

2 เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ทุกหมู่บ้านเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ชุมชน/หมู่บ้าน ปรับปรุงสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จำนวน 3 ชุมชน/หมู่บ้าน
3.00 3.00 3.00

 

3 เพื่อให้บ้านเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน เป็นหมู่บ้านน่าอยู่น่ามอง ร้อยละ 70
ตัวชี้วัด : บ้านเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน สะอาด ปลอดภัย ร้อยละ 70
0.00 60.00 60.00

 

4 เพื่อลดปริมาณขยะลง ร้อยละ 30 ของขยะทั้งหมด
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะลดลง ร้อยละ 30
100.00 70.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาความสะอาด และสร้างธรรมนูญสุขภาพครบทั้ง 3 หมู่บ้าน (2) เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ทุกหมู่บ้านเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (3) เพื่อให้บ้านเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน เป็นหมู่บ้านน่าอยู่น่ามอง ร้อยละ 70 (4) เพื่อลดปริมาณขยะลง ร้อยละ 30 ของขยะทั้งหมด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว การจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ประโยชน์ (2) กิจกรรมที่ 2 การแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน(การทำน้ำหมักชีวภาพ+การทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์) (3) เรียนรู้ร่วมกัน (4) เรียนรู้ร่วมกัน (5) อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัวการจัดการขยะในครัวเรือนชุมชนและการนำขยะไปใช้ประโยชน์ (6) การแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน(การทำน้ำหมักชีวภาาพและการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh