กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เป็นไปตามแผนงานโครงการและวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้เกิดผลสัมฤทธิ์ คุ้มค่ากับการใช้จ่ายในการดําเนินโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เกษตรกรและประชาชนผู้บริโภค มีความรู้พิษภัยสารเคมีกำจัด ศัตรูพืช และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง 2. เพื่อให้เกษตรกรและประชาชนผู้บริโภคได้รับการเจาะเลือด ตรวจคัดกรอง ค้นหาระดับสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในร่างกายโดยวิธี Reactive Paper test 3. เพื่อให้ประชาชนทุกคนที่ตรวจพบความเสี่ยงในระดับมีความเสี่ยงและระดับไม่ปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรไทย
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมและประชาชนผู้บริโภค ได้รับการตรวจเลือดหาปริมาณสารเคมีตกค้างไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของหลังคาเรือน 2. จำนวนประชาการกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมและผู้บริโภค ในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่มีสารเคมีในเลือดระดับเสี่ยง/ไม่ปลอดภัย เข้าสู่กระบวนการขับสารพิษด้วยสมุนไพรรางจืดและมีผลการตรวจเลือดครั้งที่ 2 มีผลเลือดดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 339
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 339
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เกษตรกรและประชาชนผู้บริโภค มีความรู้พิษภัยสารเคมีกำจัด ศัตรูพืช และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง 2. เพื่อให้เกษตรกรและประชาชนผู้บริโภคได้รับการเจาะเลือด ตรวจคัดกรอง ค้นหาระดับสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในร่างกายโดยวิธี Reactive Paper test 3. เพื่อให้ประชาชนทุกคนที่ตรวจพบความเสี่ยงในระดับมีความเสี่ยงและระดับไม่ปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชาสัมพันธ์และสื่อสารพิษภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช จำนวน 4 ผืน (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมประชุมให้ความรู้ พิษภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสัมภาษณ์คัดกรองความเสี่ยงแก่ประชาการกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมและประชาชนผู้บริโภค (3) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมตรวจคัดกรองเลือดกลุ่มเป้าหมาย (4) กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมกลุ่มเสี่ยงทุกรายในรายที่ตรวจพบการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่มีสารเคมีในเลือดระดับเสี่ยง/ไม่ปลอดภัย เข้าสู่กระบวนการบำบัดพิษ ด้วยสมุนไพรรางจืดต่อเนื่องอย่างน้อย 10 วัน (5) กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมติดตามและเจาะเลือดซ้ำกลุ่มเสี่ยงที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดพิษด้วยสมุนไพรรางจืดภายใน 1 เดือน (ใช้อุปกรณ์ในการเจาะเลือดร่วมกับกิจกรรมที่ 3)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh