กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อพัฒนาระบบบริการในการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคการดูแลรักษา และให้บริการที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้หมาย
ตัวชี้วัด : 1. คลินิก DPAC และ NCD ในรพ./รพ.สต. ผ่านเกณฑ์คุณภาพ (>ร้อยละ 70) 2. ผู้ป่วยDM/HT ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี (>ร้อยละ 60) 3. ร้อยละของผู้ป่วย DM ที่ควบคุมระดับนาตาลในเลือดได้ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ผู้ป่วย HT ที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 4. ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษาและส่งต่อทุกราย

 

 

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว ลดภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคที่ป้องกันได้และโรคเรื้อรังเช่นโรคอ้วน โรคความดันโรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดสมองได้
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (>ร้อยละ 60) 2. กลุ่มเสี่ยง DM/HT ที่เข้ารับการปรับเปลี่ยน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ (>ร้อยละ 30)

 

 

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนในการดำเนินการเฝ้าระวังและจัดการลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : 1. มีหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯต้นแบบ(ระดับดีมากขึ้นไป) หมู่บ้านใหม่อย่างน้อยอำเภอละ 1 หมู่บ้าน

 

 

 

4 เพื่อสร้างเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อการมีสุขภาพดี โดยวิธีเพื่อนช่วยเพื่อนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯต้นแบบ(ระดับดีมากขึ้นไป) หมู่บ้านใหม่อย่างน้อยอำเภอละ 1 หมู่บ้าน