กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการ อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2564 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
น.ส. พิชชานันท์ สุขเกษม

ชื่อโครงการ โครงการ อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L6895-01-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2564 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L6895-01-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2563 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยได้กลายเป็นสังคมสูงอายุมาตั้งแต่ปี 2548 และกำลังจะกลายเป็นสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ภายในปี 2565 ในรอบ 50 ปีที่ผ่านมา ผู้สูงอายุไทยได้เพิ่มจำนวนขึ้นเกือบ 7 เท่าตัว ในปี 2513 ประเทศไทยมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเพียง 1.7 ล้านคน และเพิ่มจำนวนเป็น 4 ล้านคนในปี 2533 และในปี 2561 ประเทศไทยมีประชากรทั้งหมด (ไม่รวมแรงงานข้ามชาติ) ประมาณ 66 ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 12 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 18 ของประชากรทั้งหมด เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 11 ล้านคน วัยแรงงานอายุ 15-59 ปี จำนวน 43 ล้านคน และในปี 2581 ประชากรสูงอายุไทยจะเพิ่มจำนวนขึ้นอีกเกือบเท่าตัว คือ เป็น 20 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมด ขณะที่จำนวนเด็กจะลดลงเหลือเพียง 9 ล้านคน และวัยแรงงานอายุ 15-59 ปี จะลดลงเหลือ 37 ล้านคน ขณะนี้การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุของประชากรไทยได้ก่อให้เกิดผลกระทบในหลายๆด้าน ต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และนับจากวันนี้เป็นต้นไปผลกระทบเหล่านี้ก็จะยิ่งทวีความรุนแรงและเห็นได้ชัดเจนขึ้น กล่าวคือ ประชากรวัยเด็กลดลง ส่งผลต่อการยุบและควบรวมของโรงเรียนที่มีเด็กนักเรียนน้อยลง ประชากรวัยทำงานลดลง ส่งผลให้ต้องมุ่งเน้นคุณภาพแรงงาน เช่น การพัฒนาทักษะ ฝีมือแรงงาน การใช้เทคโนโลยี เครื่องจักรกล การนำเข้าแรงงานบางประเภท และการขยายอายุการทำงาน ประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อการจัดระบบสวัสดิการ และการประกันสังคมแก่ผู้สูงอายุ การบริการทางด้านสุขภาพอนามัยและการดูแลผู้สูงอายุ เป็นต้น จากข้อมูลงานผู้สูงอายุของศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง ในปีงบประมาณ 2563 พบว่า มีผู้สูงอายุ จำนวน 1,964 ราย การดูแลสุขภาพที่บ้านยังเป็นบทบาทหลักของทีมสุขภาพ และยังขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลของชุมชน ตลอดจนอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ เป็นบุคคลที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย เข้าถึงประชาชนได้มากที่สุด และเป็นเครือข่ายสุขภาพในระดับชุนชนที่มีความรู้และมีศักยภาพในการปฏิบัติงาน  มีบทบาทหน้าที่กระจายความรู้ทางด้านสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความสามารถในการป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย หรือเมื่อมีการเจ็บป่วยเกิดขึ้นก็สามารถรักษาเบื้องต้น ป้องกันและฟื้นฟูสภาพไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการได้ ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน จึงจัดทำโครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2564 ขึ้น เพื่อให้กลุ่มอาสาสมัครดังกล่าวได้ร่วมกันดูแล ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ซึ่งเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพให้เกิดความยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแก่อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.)
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ และได้รับการเยี่ยมบ้านพร้อมดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
  3. เพื่อสร้างเครือข่ายในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) มีทักษะการดูแลฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม
  2. ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองกันตังได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ และได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
  3. มีเครือข่ายในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 17 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • บรรยายเรื่อง ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ผู้สูงอายุ บทบาทความสำคัญของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ  การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุและหลักการดูแลผู้สูงอายุเบื้องต้น
  • แบ่งกลุ่มเรียนรู้พร้อมประเมินทักษะ 4 ฐาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ จำนวน 50 คน  เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2564  ณ  อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง  ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ผู้สูงอายุ บทบาทความสำคัญของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุและหลักการดูแลผู้สูงอายุเบื้องต้น พร้อมเข้าฐานเรียนรู้ 4 ฐาน โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตังและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง ดังนี้ ฐานที่ 1 การประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ           (Barthel ADL Index)
    ฐานที่ 2  การประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ/การดูแลสภาพแวดล้อมในบ้าน ฐานที่ 3  การออกกำลังกาย/การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของผู้สูงอายุ (ยางยืด) ฐานที่ 4  อาหารและโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ 1.1 มีการประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรมของผู้เข้ารับการอบรม พร้อมประเมินทักษะ ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรม ก่อนและหลังการอบรม ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่องการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุและหลักการดูแลผู้สูงอายุเบื้องต้น สามารถสรุปผลการประเมินได้ตามตารางด้านล่าง ดังนี้

- ก่อนการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 50 ชุด
- หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 50 ชุด
1.2 มีการประเมินทักษะ ผลการประเมินทักษะ 1.2.1 ฐานที่ 1 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และแปลผลการประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุได้ถูกต้อง  จำนวน  44 คน  คิดเป็นร้อยละ  88.00
1.2.2 ฐานที่ 2 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และประเมินภาวะหกล้มของผู้สูงอายุได้ถูกต้อง  จำนวน  47 คน  คิดเป็นร้อยละ  94.00
1.2.3 ฐานที่ 3 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยยางยืด เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของผู้สูงอายุได้ถูกต้อง  จำนวน  50 คน  คิดเป็นร้อยละ  100 1.2.4 ฐานที่ 4  ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และประเมินภาวะโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุได้ถูกต้อง  จำนวน  48 คน  คิดเป็นร้อยละ 96.00 2. ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) 3. สรุปค่าใช้จ่ายโครงการ  เป็นเงินจำนวน  10,600  บาท  รายละเอียดดังนี้ 1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ - ค่าสมนาคุณวิทยากรวิชาการ เป็นเงิน   600 บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากรแบ่งกลุ่ม เป็นเงิน   4,800 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน   1,500 บาท - ค่าเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมิน เป็นเงิน    2,200 บาท - ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน    300 บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน    1,200 บาท 2. กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ
ไม่มีค่าใช้จ่าย

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ จำนวน 50 คน เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2564 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ผู้สูงอายุ บทบาทความสำคัญของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุและหลักการดูแลผู้สูงอายุเบื้องต้น พร้อมเข้าฐานเรียนรู้ 4 ฐาน โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตังและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง ดังนี้ ฐานที่ 1 การประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ       (Barthel ADL Index)
    ฐานที่ 2 การประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ/การดูแลสภาพแวดล้อมในบ้าน ฐานที่ 3 การออกกำลังกาย/การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของผู้สูงอายุ (ยางยืด) ฐานที่ 4 อาหารและโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ 1.1 มีการประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรมของผู้เข้ารับการอบรม พร้อมประเมินทักษะ ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรม ก่อนและหลังการอบรม ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่องการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุและหลักการดูแลผู้สูงอายุเบื้องต้น
    1.2 มีการประเมินทักษะ ผลการประเมินทักษะ 1.2.1 ฐานที่ 1 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และแปลผลการประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุได้ถูกต้อง จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 88.00
    1.2.2 ฐานที่ 2 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และประเมินภาวะหกล้มของผู้สูงอายุได้ถูกต้อง จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 94.00
    1.2.3 ฐานที่ 3 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยยางยืด เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของผู้สูงอายุได้ถูกต้อง จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 1.2.4 ฐานที่ 4 ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเรียนรู้และประเมินภาวะโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุได้ถูกต้อง จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 96.00
    1. ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.)
  2. สรุปค่าใช้จ่ายโครงการ เป็นเงินจำนวน 10,600 บาท รายละเอียดดังนี้
  3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

- ค่าสมนาคุณวิทยากรวิชาการ เป็นเงิน  600 บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากรแบ่งกลุ่ม เป็นเงิน  4,800 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน  1,500 บาท - ค่าเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมิน เป็นเงิน  2,200 บาท - ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน  300 บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน  1,200 บาท 2. กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ
ไม่มีค่าใช้จ่าย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแก่อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้และได้รับการพัฒนาทักษะการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ และได้รับการเยี่ยมบ้านพร้อมดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ และได้รับการเยี่ยมบ้านพร้อมดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
0.00

 

3 เพื่อสร้างเครือข่ายในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 80 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแก่อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ และได้รับการเยี่ยมบ้านพร้อมดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ (3) เพื่อสร้างเครือข่ายในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ใส่ใจดูแลผู้สูงวัย ปี 2564 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L6895-01-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส. พิชชานันท์ สุขเกษม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด