กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2564 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางนุชรี หยังหลัง

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L6895-01-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2564 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L6895-01-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 93,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขระดับประเทศ เป็นโรคอันตรายในพื้นที่ประเทศเขตร้อนชื้น การระบาดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมาก เกิดจากมีน้ำขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีการกำจัดลูกน้ำในบ้านทุกสัปดาห์อย่างต่อเนื่อง และการเตรียมความพร้อมควบคุมกำจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูการระบาดเพื่อลดประชากรของยุงลายในพื้นที่ โดยการประสานกับหน่วยงานอื่นๆ หน่วยงานเอกชน ร่วมกันกำจัดลูกน้ำในพื้นที่สาธารณะ เช่น วัด โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก ชุมชน ตลาดสด สวนสาธารณะ เป็นต้น เพื่อควบคุมการระบาดในระดับพื้นที่  แต่ในปัจจุบันพบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก  ยังทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้น ซึ่งจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันและรณรงค์อย่างต่อเนื่อง  เพื่อให้สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกกลับอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนแรง
ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2564  ขึ้น  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจให้ประชาชน มีทักษะในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยกระตุ้นให้ประชาชนทุกครัวเรือน ทุกชุมชน ตลอดจน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน ตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันโรค  และเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ลดอัตราการป่วยและการระบาดจากโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนและนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกถูกวิธี และเหมาะสม
  2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ชุมชน ให้โรงเรียน ชุมชนเป็นเขตปลอดลูกน้ำยุงลาย
  3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน นักเรียน ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ลดอัตราการป่วยและการระบาดจากโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรค
  3. กิจกรรมการรณรงค์/ประชาสัมพันะ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 85
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก
  3. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
  4. ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรค

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน 12 ชุมชน

 

0 0

2. กิจกรรมการรณรงค์/ประชาสัมพันะ์

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รณรงค์

 

0 0

3. อบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 8 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมเชิงปฏิบัติการผู้นำชุมชน/กรรมการชุมชน และแกนนำสุขภาพชุมชน จำนวน 120 คน ในวันที่ 8 มี.ค. 64 และอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนักเรียนในการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน จำนวน 85 คน ในวันที่ 9 มี.ค. 64 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรมก่อน-หลังการอบรม

 

205 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนและนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกถูกวิธี และเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของแกนนำสุขภาพในชุมชน/นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
0.00

 

2 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ชุมชน ให้โรงเรียน ชุมชนเป็นเขตปลอดลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 80 ของชุมชนมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ไม่เกิน ร้อยละ 10 -ร้อยละ 100 ของโรงเรียน และวัด มีค่า ( CI ) น้อยกว่า 5 -อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลไม่เกิน 50 / แสนประชากร
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน นักเรียน ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ลดอัตราการป่วยและการระบาดจากโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 205
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 85
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนและนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกถูกวิธี และเหมาะสม (2) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ชุมชน ให้โรงเรียน ชุมชนเป็นเขตปลอดลูกน้ำยุงลาย (3) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน  นักเรียน ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ลดอัตราการป่วยและการระบาดจากโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ (2) รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรค (3) กิจกรรมการรณรงค์/ประชาสัมพันะ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2564 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L6895-01-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนุชรี หยังหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด