กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. พัฒนาการมีส่วนร่วมและศักยภาพของท้องถิ่นในการพัฒนากระบวนการควบคุมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดคณะกรรมการดำเนินโครงการที่ครอบคลุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของชุมชน จำนวน..40..คน 1.2 คณะกรรมการมีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาการสูบบุหรี่ในชุมชน 1.3 เกิดแผนปฏิบัติและการดำเนินงานควบคุมยาสูบตามแผนโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน 1.4 คณะกรรมการมีส่วนร่วมในการติดตามกำกับและสรุปบทเรียนการดำเนินงาน
80.00 80.00

 

2 2. สร้างสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.1 สถานที่ที่เป็นพื้นที่ห้ามสูบบุหรี่มีการติดป้ายสัญลักษณ์ ร้อยละ 90 2.2 มีกลไก/อาสาสมัครในการติดตาม ตรวจตราการจัดสถานที่ปลอดบุหรี่ 2.3 ร้านค้า ร้อยละ100 ได้รับความรู้และมีความเข้าใจในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่และให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามกฎหมาย
90.00 90.00

 

3 3.ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน และได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่ ของแต่ละหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : 3.1 ผู้สูบบุหรี่ได้เข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับโทษ พิษภัยของการสูบบุหรี่ อย่างน้อยร้อยละ 50 3.2 ผู้สูบบุหรี่สนใจเข้าร่วมโครงการ และอยากลด ละ เลิกสูบบุหรี่ใน 6 เดือนอย่างน้อยร้อยละ 50 3.3 ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ 3.3.1 มีผู้เลิกสูบบุหรี่ (6 เดือนขึ้นไป) จำนวน 8 คน 3.3.2 มีผู้ลด/ละการสูบบุหรี่ จำนวน 40 คน 3.3.3 เกิดบุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่อย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 คน
50.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. พัฒนาการมีส่วนร่วมและศักยภาพของท้องถิ่นในการพัฒนากระบวนการควบคุมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราในชุมชน (2) 2. สร้างสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่ในชุมชน (3) 3.ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน และได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่ ของแต่ละหมู่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. พัฒนาการมีส่วนร่วมและศักยภาพในการพัฒนากระบวนการควบคุมการสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนโดยชุมชน (2) 2. สร้างสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่/การจัดสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ (3) 3.ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน และได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh