กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร


“ โครงการส่งเสริมการรับวัคซีนโดยภาคีเครือข่าย ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายยูสนิง หะมะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการรับวัคซีนโดยภาคีเครือข่าย ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4120-01-06 เลขที่ข้อตกลง 08/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการรับวัคซีนโดยภาคีเครือข่าย ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการรับวัคซีนโดยภาคีเครือข่าย ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการรับวัคซีนโดยภาคีเครือข่าย ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4120-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากผลการดำเนินงาน ความครอบคลุมการรับวัคซีนในเขตความรับผิดชอบของ รพ.สต บ้านแหรในปีทีผ่านมา พบว่า 1. ความครอบคลุมในเด็กอายุครบ 1 ปี เป้าหมาย 92 คน ผลงาน 55 คน ร้อยละ 59.78 2. ความครอบคลุมในเด็กอายุครบ 2 ปี เป้าหมาย 87 คน ผลงาน 42 คน ร้อยละ 48.28 3. ความครอบคลุมในเด็กอายุครบ 3 ปี เป้าหมาย 89 คน ผลงาน 49 คน ร้อยละ 55.06 4. ความครอบคลุมในเด็กอายุครบ 5 ปี เป้าหมาย 96 คน ผลงาน 52 คน ร้อยละ 54.17 จะเห็นได้ว่าทั้ง 4 กลุ่มอายุยังมีผลงานครอบคลุมที่ค่อยข้างน้อย ซึ่่งได้วิเคราะห์สาเหตุของปัญหามาจากกลุ่มที่เรียกว่า กลุ่มปฏิเสธการรับวัคซีนซึ่่งในพื้นที่มีมากถึง ร้อยละ 40 ดังนั้น ในทางการแก้ไขปัญหาคง จึงยังต้องเน้นการให้ความรู้และสร้างความเข้าใจกับกลุ่มดังกล่าว รวมทั้งการใช้กระบวนการรณรงค์ เชิงรุกติดตามและสร้างความเข้าใจในแบบเคาะประตูบ้านโดยทีมของหมู่บ้าน จึงเป็นแนวทางที่น่าจะนำมาใช้และเกิดผลสำเร็จโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแหร จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการรับวัคซีนโดยภาคีเครือข่ายประจำปีงบประมาณ 2564 เพื่อให้ความรู้และสร้างความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมายที่ยังปฏิเสธดังกล่าว จะเป็นการดึงภาคีเครือข่ายเช่นผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชนให้มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพือให้ความครอบคลุมการรับวัคซีนในเด็กอายุครบ 1 ปี 2 ปี 4ปี 5ปี มีอัตราที่เพิ่มขึ้น
  2. 2.เพื่อให้ผู้ปกครองที่ไม่ตระหนักและปฏิเสธการรับวัคซีนมีความเข้าใจในวัคซีนที่ถูกต้อง
  3. 3.การบูรณาการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยภาคีเครือข่าย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ทีมสร้างความเข้าใจ
  2. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองที่ไม่ตระหนักและปฏิเสธการรับวัคซีน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 35
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ความครอบคลุมการรับวัคซีนในเด็กอายุครบ 1 ปี 2 ปี 4 ปี 5 ปี มีอัตราที่เพิ่มขึ้น 2.กลุ่มผู้ปกครองที่ปฏิเสธวัคซีนมีจำนวนลดลง 3.เกิดทีมสร้างความเข้าใจเรื่องวัคซีนในระดับหมู่บ้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองที่ไม่ตระหนักและปฏิเสธการรับวัคซีน

วันที่ 19 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมกำหนดกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ 2.วิเคราะห์ปัญหาที่พบและจัดทำแผนการดำเนินงาน 3.เขียนแผน/โครงการ เพื่อเสอนอนุมัติ 4.ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.ประชาสัมพันธ์โครงการภายในชุมชน 6.ดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จาการประเมินโครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโดยภาคีเครือข่าย ปี 2564 ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงาน ดำเนินงานโครงการ และแต่งตั้งคณะทำงานประชาสัมพันธ์ มีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตามกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี เน้นผู้ปกครองที่ไม่ตระหนักและไม่ยินยอม นำบุตรมารับวัคซีน มีการจัดทำสื่อ ประชาสัมพันธ์งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและกจิกรรมรณรงค์ใช้สื่อสาธารณะ มีการรณรงค์ออกปฏิบัติงานค้นหา ติดตาม เยี่ยมบ้าน ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองของเด้็ก 0-5 ปี เชิงรุกร่วมกับทีม อสม และติดตามเยี่ยมบ้านเชิงรุก การออกให้บริการฉีดวัคซีนนอกสถานที่ และติดตาม เด็กที่ขาดการรับวัคซีนในแต่ละเดือน ตามแผนที่วางไว้ โดยเป้าหมายในโครงการครั้งนี้คือผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่ตระหนักและยินยอมรับวัคซีนมีความรู้เพิ่มขึ้น มีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน และตระหนักถึงประโยชน์การฉีดวัคซีนมากขึ้น และให้ความร่วมมือกับทีมสาธารณสุขเคลื่อนที่ ที่ออกให้บริการเชิงรุกในพื้นที่มากขึ้น ทำให้เด็กในชุมชนได้รับวัคซีนที่มีคุณภาพและให้ครบตามเกณฑ์อายุ ในส่วนผลงานตามตัวชี้วัดในงานนั้น การจัดโครงการดังกล่าวสามารถที่จะปรับปรุงและแก้ไขผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2564 ให้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด สามารถสรุปได้ดังนี้ 1.จำนวนเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตาเกณฑ์ มีจำนวนเพิ่มขึ้น คือ 69.30 %
2.ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและภาคีเครือข่ายของหมู่บ้านเป็นอย่างดี กลุ่มผู้ปกครองที่ปฏิเสธวัคซีนมีจำนวนลดลง

 

100 0

2. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ทีมสร้างความเข้าใจ

วันที่ 20 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมกำหนดกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ 2.วิเคราะห์ปัญหาที่พบและจัดทำแผนการดำเนินงาน 3.เขียนแผน/โครงการ เพื่อเสอนอนุมัติ 4.ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.ประชาสัมพันธ์โครงการภายในชุมชน 6.ดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จาการประเมินโครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโดยภาคีเครือข่าย ปี 2564 ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงาน ดำเนินงานโครงการ และแต่งตั้งคณะทำงานประชาสัมพันธ์ มีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตามกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี เน้นผู้ปกครองที่ไม่ตระหนักและไม่ยินยอม นำบุตรมารับวัคซีน มีการจัดทำสื่อ ประชาสัมพันธ์งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและกจิกรรมรณรงค์ใช้สื่อสาธารณะ มีการรณรงค์ออกปฏิบัติงานค้นหา ติดตาม เยี่ยมบ้าน ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองของเด้็ก 0-5 ปี เชิงรุกร่วมกับทีม อสม และติดตามเยี่ยมบ้านเชิงรุก การออกให้บริการฉีดวัคซีนนอกสถานที่ และติดตาม เด็กที่ขาดการรับวัคซีนในแต่ละเดือน ตามแผนที่วางไว้ โดยเป้าหมายในโครงการครั้งนี้คือผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่ตระหนักและยินยอมรับวัคซีนมีความรู้เพิ่มขึ้น มีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน และตระหนักถึงประโยชน์การฉีดวัคซีนมากขึ้น และให้ความร่วมมือกับทีมสาธารณสุขเคลื่อนที่ ที่ออกให้บริการเชิงรุกในพื้นที่มากขึ้น ทำให้เด็กในชุมชนได้รับวัคซีนที่มีคุณภาพและให้ครบตามเกณฑ์อายุ ในส่วนผลงานตามตัวชี้วัดในงานนั้น การจัดโครงการดังกล่าวสามารถที่จะปรับปรุงและแก้ไขผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2564 ให้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด สามารถสรุปได้ดังนี้ 1.จำนวนเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตาเกณฑ์ มีจำนวนเพิ่มขึ้น คือ 69.30 %
2.ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและภาคีเครือข่ายของหมู่บ้านเป็นอย่างดี กลุ่มผู้ปกครองที่ปฏิเสธวัคซีนมีจำนวนลดลง

 

35 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการประเมินโครงการส่งเสริมการรับวัคซีนโดยภาคีเครือข่ายปี 2564 ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงาน ดำเนินงานโครงการ และแต่งตั้งคณะทำงานประชาสัมพันธ์ มีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามกลุ่มเป้าหมาย ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี เน้นผู้ปกครองที่ไม่ตระหนักและไม่ยินยอม นำบุตรมาฉีดวัคซีน มีการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและกิจกรรมรณรงค์ใช้สื่อสาธารณะ มีการรณรงค์ออกปฏิบัติงานค้นหา ติดตาม เยี่ยมบ้าน ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองของเด็ก 0-5 ปี เชิงรุกร่วมกับทีม อสม. และติดตามเยี่ยมบ้านเชิงรุก การออกให้บริการฉีดวัคซีนนอกสถานที่ และติดตามเด็กที่ขาดการรับวัคซีนในแต่ละเดือนตามแผนที่วางไว้     การจัดโครงการดังกล่าวสามารถที่จะปรับปรุงและแก้ไขผลการดำเนินงานให้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ มีจำนวนเพิ่มขึ้น 69.30% 2. ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและภาคีเครือข่ายของหมู่บ้านเป็นอย่างดี กลุ่มผู้ปกครองที่ปฏิเสธวัคซีนมีจำนวนลดลง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพือให้ความครอบคลุมการรับวัคซีนในเด็กอายุครบ 1 ปี 2 ปี 4ปี 5ปี มีอัตราที่เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมการรับวัคซีนในเด็กอายุครบ 1 ปี 2 ปี 4 ปี 5 ปี ร้อยละ 70
0.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้ปกครองที่ไม่ตระหนักและปฏิเสธการรับวัคซีนมีความเข้าใจในวัคซีนที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองที่ไม่ตระหนักและปฏิเสธการรับวัคซีน มีความตระหนักและนำบุตรหลานมารับวัคซีนเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ต่อปี
0.00

 

3 3.การบูรณาการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยภาคีเครือข่าย
ตัวชี้วัด : เกิดทีมสร้างความเข้าใจเรื่องวัคซีนในระดับหมู๋บ้านทุกหมู่บ้าน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 135 135
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 35 35
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพือให้ความครอบคลุมการรับวัคซีนในเด็กอายุครบ 1 ปี 2 ปี 4ปี 5ปี  มีอัตราที่เพิ่มขึ้น (2) 2.เพื่อให้ผู้ปกครองที่ไม่ตระหนักและปฏิเสธการรับวัคซีนมีความเข้าใจในวัคซีนที่ถูกต้อง (3) 3.การบูรณาการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยภาคีเครือข่าย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ทีมสร้างความเข้าใจ (2) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองที่ไม่ตระหนักและปฏิเสธการรับวัคซีน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการรับวัคซีนโดยภาคีเครือข่าย ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4120-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายยูสนิง หะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด