กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ซึ่งเป็นโรคอุบัติการณ์ซ้ำพบว่า ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก เกิดจากการจัดกิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ส่วนโรคอุบัติใหม่ คือโรคโควิด - 19 ยังไม่พบผู้ติดเชื้อในพื้นที่ อาจจะเกิดจากการเฝ้าระวังและควบคุมโรคการปฏิบัติตัวและสุขวิทยาส่วนบุคคลดี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วให้มีความรู้และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วได้รับการพัฒนาความรู้และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
0.00 1.00 1.00

 

2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำในพื้นที่ตำบลโคกชะงายและควบคุมโรคตามหลักการและขั้นตอน ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : โรคอุบัติใหม่ อบัติซ้ำในพื้นที่ตำบลโคกชะงายลดลงและได้รับการควบคุมโรคตามหลักการและขั้นตอน ถูกต้องเหมาะสม
0.07 0.01 0.00

 

3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 75 ต่อแสนประชากร
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 75 ต่อแสนประชากร
75.00 75.00 0.00

 

4 เพื่อให้ทุกครัวเรือนมีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายทุกครัวเรือน
1000.00 1000.00 1,000.00

 

5 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI,CI ไม่เกินค่ามาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI,CI ลดลง ไม่เกินค่ามาตรฐาน
10.00 10.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2629 2629
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,629 2,629
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วให้มีความรู้และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำในพื้นที่ตำบลโคกชะงายและควบคุมโรคตามหลักการและขั้นตอน ถูกต้องเหมาะสม (3) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 75 ต่อแสนประชากร (4) เพื่อให้ทุกครัวเรือนมีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย (5) เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI,CI ไม่เกินค่ามาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วัสดุอุปกรณ์โต้ตอบเหตุฉุกเฉินทางสาธารณสุข (2) รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย (3) พ่นหมอกควัน/ULV ทำลายยุงตัวเต็มวัย (กรณีเกิดโรคไข้เลือดออก) (4) อบรมพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (5) กิจกรรมที่ 5 เรียนรู้ร่วมกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh