กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านกลางและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ 3 ส.ค. 2564 3 ส.ค. 2564

 

วันที่ 3 สิงหาคม 2564 ได้ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านกลางและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ จำนวน 26 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ตามโครงการ“New normal ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวานความดันโลหิตสูง

 

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน  และโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแล ตนเองในการป้องกันโรค สามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน  และโรคความดันโลหิตสูงได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้อง
  3. กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและ ระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น
  4. ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  5. ภาคีเครือข่ายเห็นความสำคัญของปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่ และมีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

 

ให้ความรู้เพื่อปรับ...เปลี่ยน..ลดเสี่ยง ควบคุมโรค ลดภาวะแทรกซ้อน 5 ส.ค. 2564 5 ส.ค. 2564

 

วันที่ 5 สิงหาคม 2564 ได้ให้ความรู้เพื่อปรับ...เปลี่ยน..ลดเสี่ยง ควบคุมโรค ลดภาวะแทรกซ้อน จำนวน 40 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ตามโครงการ“New normal ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวานความดันโลหิตสูง

 

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน  และโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแล ตนเองในการป้องกันโรค สามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน  และโรคความดันโลหิตสูงได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้อง
  3. กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและ ระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น
  4. ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  5. ภาคีเครือข่ายเห็นความสำคัญของปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่ และมีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

 

ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต โดยการเจาะเลือดจากเลือดดำที่แขน โดยให้งดน้ำงดอาหารก่อนเจาะ 8-10 ชม.และเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจ และตรวจเท้า 10 ส.ค. 2564 10 ส.ค. 2564

 

วันที่ 10 สิงหาคม 2564 ได้ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต โดยการเจาะเลือดจากเลือดดำที่แขน โดยให้งดน้ำงดอาหารก่อนเจาะ 8-10 ชม.และเก็บน้ำปัสสาวะส่งตรวจ และตรวจเท้า จำนวน 40 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ตามโครงการ“New normal ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวานความดันโลหิตสูง

 

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน  และโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแล ตนเองในการป้องกันโรค สามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน  และโรคความดันโลหิตสูงได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้อง
  3. กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและ ระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น
  4. ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  5. ภาคีเครือข่ายเห็นความสำคัญของปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่ และมีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

 

คืนข้อมูลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับแกนนำชุมชนร่วมกับเจ้าหน้าที่และอสม. เพื่อหาแนวทางการลดเสี่ยง ลดโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อนให้กับคนในชุมชน 12 ส.ค. 2564 12 ส.ค. 2564

 

วันที่ 12 สิงหาคม 2564 ได้คืนข้อมูลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับแกนนำชุมชนร่วมกับเจ้าหน้าที่และอสม. เพื่อหาแนวทางการลดเสี่ยง ลดโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อนให้กับคนในชุมชน จำนวน 30 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ตามโครงการ“New normal ห่างไกลโรคเรื้อรัง เบาหวานความดันโลหิตสูง

 

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน  และโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแล ตนเองในการป้องกันโรค สามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน  และโรคความดันโลหิตสูงได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ถูกต้อง
  3. กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและ ระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น
  4. ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  5. ภาคีเครือข่ายเห็นความสำคัญของปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่ และมีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน