กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาระบบบูรณาการการป้องกันและจัดการโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงเพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรครายใหม่และเพิ่มอัตราการควบคุมโรคได้ปี2564

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ในกิจกรรมที่ทำ แต่มีบางกิจกรรม ที่ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากติดสถานการณ์ Covid -19 และได้ดำเนินการคืนเงินกองทุน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังได้ถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังได้ถูกต้องร้อยละ60
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมภายใต้พื้นฐานวิถีชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมร้อยละ ๖๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังได้ถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมภายใต้พื้นฐานวิถีชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.คัดกรองโรคเบาหวาน ในประชากร.อายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป โดยการเจาะโลหิตปลายนิ้วหาระดับน้ำตาล (DTX) และคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โดยการวัดความดันโลหิต (BP) (2) ๒.อบรมให้ความรู้เรื่องโรค อาหารและการออกกำลังกาย แก่กลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน ๖๐ คน พร้อมทั้งส่งเสริมและติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก ๓ อ. ๒ ส. โดยการติดตามบันทึกข้องมูลก่อนและหลังดำเนินการโดย อสม.ที่รับผิดชอบครัวเรือน (3) ๓.ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX=100-125 mg/dL) หลังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมครบ 6 เดือนและติดตามกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน (ค่า DTX≥126 mg/dL) เจาะ FBS ครั้งที่ 1 หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ครบ 1 เดือนและเจาะครั้งที่ 2 หลังเจาะครั้งแรก 1 อาทิตย (4) ๖.ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ความเสี่ยง CVD risk จำนวน 47 คน และผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรังในระยะ 3 และ 4 จำนวน 72 คน โดยเจ้าหน้าที่และ อสม. (5) ๘.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในสถานบริการและชุมชน โดยใช้เครื่องมือ“ปิงปอง 7 สี สื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1)ควรจะมีการจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย และอารมณ์ ในประชาชนทั่วไปที่เสี่ยงต่อภาวะอ้วนลงพุง ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันการเกิดโรคในกลุ่ม NCD ในอนาคต

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh