กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการพบว่ากลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ ชุมชนสามารถควบคุมพฤติกรรมและไม่ได่เป๋นผู้ป่วยใหม่ มีการปลูกผักสวนครัวประมาณ 80% ส่วนใหญ่มีการออกกำลังกายโดยการเดิน วิ่ง ญาติมีการปรับเรื่องเมนูสุขภาพในครอบครัว ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบ ลดโรค มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอ จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ร้อยละ 60

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ดูแลสุขภาพตนเอง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลง
0.00

 

2 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้เข้าร่วม กิจกรรมกลุ่ม และรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง สามารถควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ร้อยละ 60
0.00

 

3 1. เพื่อให้ผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด หรือระดับ ความดันโลหิต ไม่ได้ ได้รับการติดตาม เยี่ยมบ้าน
ตัวชี้วัด : 3.ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด หรือระดับความดันโลหิตไม่ได้ ทุกคนได้รับการเยี่ยมบ้าน
0.00

 

4 4.เพื่อป้องกันและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : 4.จำนวนผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคหลอดเลือดสมอง รายใหม่ลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง  มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ดูแลสุขภาพตนเอง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง (2) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้เข้าร่วม กิจกรรมกลุ่ม และรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง สามารถควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น (3) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด หรือระดับ ความดันโลหิต ไม่ได้  ได้รับการติดตาม เยี่ยมบ้าน (4) 4.เพื่อป้องกันและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ จากการดำเนินโครงการพบว่ากลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ ชุมชนสามารถควบคุมพฤติกรรมและไม่ได่เป๋นผู้ป่วยใหม่ มีการปลูกผักสวนครัวประมาณ 80% ส่วนใหญ่มีการออกกำลังกายโดยการเดิน วิ่ง ญาติมีการปรับเรื่องเมนูสุขภาพในครอบครัว ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบ ลดโรค มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอ จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ร้อยละ 60

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh