กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

รายงานผลการดำเนินงานโครงการเร่งรัดความคลอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ประจำปีงบประมาณ 2564
1. รายละเอียดองค์กร/หน่วยงานของรัฐ   ประเภทขององค์กร : หน่วยงานของรัฐ   ชื่อองค์กร : โรงพยาบาลท่าแพ   ชื่อหัวหน้าหน่วยงาน : นายแพทย์พันธุ์เชษฐู์ บุญช่วย
  ที่ตั้งสำนักงาน : กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิ 2. รายละเอียดโครงการ
  ชื่อโครงการที่ขอรับเงินกองทุน : โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ประจำปีงบประมาณ 2564
  จำนวนเงินที่ได้รับการสนับสนุน เป็นเงิน 15,775 .- บาท
  ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวศิริมา หมาดเต๊ะ
3. กลุ่มเป้าหมาย
  3.1 กิจกรรมที่ 1 ติดตามและให้บริการวัคซีนเด็กในกลุ่มที่ยังขาดความคลอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้งกันโรค แยกตามรายหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 - 10 เขตตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
  3.2 กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรุ้เรื่องวัคซีนสสร้างเาริมภูมิคุ้มกันโรค แก่ผู้ปกครอง เด็กและอาสาสมัครสาธารณสุข
4. สถานที่ในการจัดประชุม : ห้องประชุมศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 8 บ้านดาหลำ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล และพื้นที่ติดตามเยี่ยม พื้นที่ตำบลท่าแพ จำนวน 10 หมู่บ้าน
5. ผลการดำเนินงานและผลลัพท์
  5.1 กิจกรรมที่ยังไม่ดำเนินงาน : ไม่มี
  5.2 การประเมินผลความสำเร็จของโครงการ
    5.2.1 จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย 2 เดือน - 5 ปี ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ รวมทั้งผู้ปกครอง ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน จำนวน 55 ราย เพื่อตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนและนำข้อมูลที่ได้รับวัคซีนมาบันทึกความครอบคลุม ในกรณีที่ได้รับมาจากคลินิคเอกชน อัตรา ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเด็กอายุ ครบ 1 ปี จำนวนทั้งหมด 89 ราย จากจำนวนทั้งหมด 90 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.89
  5.2.2 แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขได้รับความรู้ เรื่องการสร้างเสริมภูมคุ้มกันโรค จำนวน 50 ราย และมีความู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 จากการทำแบบทดสอบก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ จำนวน 37 ราย โดยคิดเป็นร้อยละ 74 และหลังอบรมกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ จำนวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
  6. ข้อเสนอแนะ ในการจัดทำโครงการครั้งต่อไป ปัญหาและอุปสรรค แนวทางแก้ไข
  6.1 กลุ่มเป้าหมายย้านที่อยู่ โดยที่ทาง เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานไม่ทราบ ทำให้ติดตามข้อมูลไม่ได้
  6.2 บางรายที่ไปรับที่สถานบริการเอกชน แล้ว ไม่มีการนำสมุดบันทึก มาให้บริการ บันทึกประวัติการได้รับวัคซีน ทำให้ข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน แนวทางแก้ไข : เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน มีการติดตามข้อมูลและบันทึกข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง 2 - 3 เดือนครั้ง 7. ข้อเสนอแนะขององค์กร ให้มีการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการในโอกาสต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปีที่ยังไม่ได้รับวัคซีนได้รับการติดตามและให้บริการวัคซีน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัย 0 -5 ปี ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนได้รับการติดตามและให้บริการวัคซีน
100.00 98.89

 

2 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และความเข้าใจเห็นความสำคัญของการนำบุตรมารับวัคซีนตามวัยโดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขช่วยในการติดตาม
ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนตามวัยของเด็ก 0 - 5 ปี ร้อยละ 90
90.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 10
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปีที่ยังไม่ได้รับวัคซีนได้รับการติดตามและให้บริการวัคซีน (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และความเข้าใจเห็นความสำคัญของการนำบุตรมารับวัคซีนตามวัยโดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขช่วยในการติดตาม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมติดตามและให้บริการวัคซีน (2) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh