กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการ การเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตำบลท่าแพขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564
1. รายละเอียดองค์กร/หน่วยงานของรัฐ
  ประเภทขององค์กร : หน่วยงานของรัฐ
  ชื่อองค์กร : โรงพยาบาลท่าแพ
  ชื่อหัวหน้าหน่วยงาน : นายแพทย์พันธ์เชษฐ์ บุญช่วย
  ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลท่าแพ (นายแพทย์เชี่ยวชาญ)   ทีตั้ง : กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิองค์รวม โรงพยาบาลท่าแพ 155 หมู่ที่ 2 ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
2. รายละเอียดโครงการ
  ชื่อโครงการ : การเฝเาระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์
  จำนวนเงินที่ได้รับการสนับสนุน : 20,832.- บาท
  ผู้รับผิดชอบโครงการ : นางปริญญา หมันนาเกลือ
3. กลุ่มเป้าหมาย
  1. สมาชิกอาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำชุมชน
  2. หญิงตั้งครรรภ์ สามีและญาติ หญิงวัยเจริญพันธุ์
4. ระยะเวลาดำเนินโครงการ
1 กุมภาพันธ์ - 30 กันยายน 2564
5. สถานที่ในการจัดประชุม : ณ ศาลาเอนกประสงค์ บ้านดาหลำ หมู่ที่ 8 อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
6. ผลการดำเนินงานและผลลัพธ์
  6.1 กิจกรรมที่ยังไม่ดเนินการ
  6.2 การประเมินผลความสำเร็จของโครงการ
  6.2.1 หญิงตั้งครรภ์ คู้สมรสใหม่ และหญิงวัยเจริญพันธุ์ รวมถึง อสม. เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 100 คน
  6.2.2 หญิงตั้งครรภ์ คู่สมรสใหมา และหยิงวัยเจริญพันธุ์รวมถึง อสม. จากการทำแบบทดสอบก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์จำนวน 86 ราย คิดเป็นร้อยละ 86 และหลังการอบรมกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์จำนวน 96 ราย คิดเป็นร้อยละ 96
  6.2.3 หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้รับการเยี่ยมติดตามอย่างต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. ตลอดจนแกนนำสุขภาพและผู้นำชุมชนในพื้นที่อย่างใกล้ชิด ร้อยละ 100
7. ข้อเสนอแนะในการจัดโครงการครั้งต่อไป ปัญหาและอุปสรรคและนวทางแก้ไข
  7.1 ปัญหาการตั้งครรภ์ที่มีภาวะความเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ยังเป็นปัญหาสำคัญในงานอนามัยแม่และเด็กเห็นสมควรให้มีโครงการในการแก้ปัญหาดังกล่าวต่อไปอย่างต่อเนื่อง
  7.2 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะการตั้งครรภ์เสี่ยงสูงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้กลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลตนเองเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน เห็นควรให้การสนับสนุนงบประมาณต่อไปอย่างต่อเนื่อง
  7.3 การให้บริการทีมีคุณภาพในคลินิคฝากครรภ์เป็นสิ่งสำคัญทุกช่วยอายุครรภ์ต้องได้รับวินิจฉัยอย่างถูกต้องแม่นยำ หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาได้รับการแก้ไขอย่างมีมาตราฐานและทันท่วงที ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยทุกราย
8. ข้อเสนอแนะขององค์กร
อยากให้มีการสนับสนุนและเพิ่มเงินอุดหนุนในการดำเนินโครงการตามความเหมาะสมในโอกาสต่อไป เพื่อให้เกิดการทำงานแบบบูรณาการร่วมกันของภาคีเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น และเข้าถึงการจัดการสุขภาพอย่างต่อเนื่องและเกิดประสิทธิภาพอย่างยั้งยืน และต้องขอขอบคุณผู้สนับสนุนงบประมาณ มา ณ ที่นี้ด้วย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงที่ถูกต้อง ร้อยละ 85
85.00 96.00

 

2 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อมารดาและทารกในครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตังครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80
80.00 100.00

 

3 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้ถูกต้อง ร้อยละ 85
85.00 96.00

 

4 4. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนำมีความรู้
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้และแกนนำมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00 96.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อมารดาและทารกในครรภ์ (3) 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้ถูกต้อง (4) 4. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนำมีความรู้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมออกติดตามเยี่ยม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh