กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วิธีการดำเนินโครงการ 1.ขั้นเตรียมการ 1.1 สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาเกี่ยวกับโรคติดต่อที่พบบ่อยในเด็กเล็ก 1.2 จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติ 1.3 ขออนุมัติโครงการต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคูหาใต้ 1.4 ประชุมครูผู้ดูแลเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองอิฐเพื่อเตรียมการและกำหนดกิจกรรมดำเนินการ 2.ขั้นดำเนินการ 2.1 จัดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้แก่ครูดูแลเด็ก บุคลากร และผู้ปกครองเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกี่ยวกับโรคติดต่อ ได้แก่ โรคมือเท้าปาก โรคไข้เลือดออก โรคไวรัส RSV โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 2.2 จัดกิจกรรมการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพแก่เด็กเล็กทุกวัน 2.3 จัดกิจกรรม Big cleaning ทุกวันศุกร์ ทำความสะอาดทั้งภายในและภายนอกอาคาร 2.4 จัดกิจกรรมเสริมทักษะให้แก่เด็กเกี่ยวกับการดูแลตนเองให้ปลอดโรค ดังนี้ ทักษะการล้างมือ ทักษะการแปรงฟัน การเลือกกินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ 3.ขั้นสรุปผล 3.1 ประเมินผลโครงการ 3.2 สรุปผลการดำเนินงานและปัญหาอุปสรรค ผลที่เกิดจากโครงการในเชิงปริมาณ 1.ร้อยละ 80 ของครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันอย่างถูกวิธี 2.ร้อยละ 80 เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองอิฐได้รับการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพ 3.ร้อยละ 80 ของเด็กเล็กที่ได้รับการส่งเสริมทักษะในการดูแลตนเอง 4.ร้อยละ 90 ของเด็กเล็กมีฟันผุลดน้อยลง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันอย่างถูกวิธี
80.00 80.00

ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันอย่างถูกวิธี

2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดครองอาการป่วยของเด็กจากโรคติดต่อได้ทันถ่วงที
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80 ของผู้ปกครองมีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดกรองอาการป่วยของเด็กจากโรคติดต่อ
80.00 80.00

เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองอิฐได้รับการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวั งสุขภาพ

3 เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก เช่น การล้างมือ การแปรงฟันที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กเล็กมีทักษะความรู้สามารถปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก
80.00 80.00

เด็กเล็กที่ได้รับการส่งเสริมทักษะในการดูแลตนเอง

4 เพื่อส่งเสริมการทำความสะอาดสิ่งของเครื่องใช้ภายในศูนย์โดยใช้น้ำยาฆ่าเชื้ออย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของสิ่งของเครื่องใช้สะอาดปราศจากเชื้อโรค
90.00 90.00

เด็กเล็กมีฟันผุลดน้อยลง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 167 167
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 87 87
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกันอย่างถูกวิธี (2) เพื่อให้ผู้ปกครองมีทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อมและคัดครองอาการป่วยของเด็กจากโรคติดต่อได้ทันถ่วงที (3) เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก เช่น การล้างมือ การแปรงฟันที่ถูกวิธี (4) เพื่อส่งเสริมการทำความสะอาดสิ่งของเครื่องใช้ภายในศูนย์โดยใช้น้ำยาฆ่าเชื้ออย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการประชุมให้ความรู้แก่ครูผู้ดูแลเด็ก บุคลากรในศูนย์และผู้ปกครองเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็ก (2) กิจกรรมการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพแก่เด็กเล็กทุกวัน (3) กิจกรรมเสริมทักษะให้แก่เด็กเกี่ยวกับการดูแลตนเองให้ปลอดโรค (4) กิจกรรม Big Clenning Day ทุกวันศุกร์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh