กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

เฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/64 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อส่งเสริมกิจกรรมดำเนินงานป้องกันโรค โดยประชาชนมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย มีส่วนร่วมในการดำเนินงานกิจกรรมรณรงค์กำจัดหนู
0.00

 

 

 

2 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาร่วม ป้องกันและกำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย มีความตระหนักเรื่องโรคที่มีหนูเป็นพาหะและให้ความร่วมมือ ในการป้องกันและกำจัดหนู
0.00

 

 

 

3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคที่มีหนูเป็นพาหะ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคที่มีหนูเป็นพาหะ โดยการประเมินเฝ้าระวังสถานการณ์การเกิดโรค
0.00

 

 

 

4 เพื่อรณรงค์กำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : อัตราส่วนการเกิดโรคฉี่หนูลดลงร้อยละ ๒๐ เปรียบเทียบย้อนหลัง ๓ ปี
0.00