กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ และแนวทางปฏิบัติ ที่ถูกต้องให้กับประชาชนเพื่อใช้ในการดูแล ป้องกันโรคได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีความรู้ในการดูและตนเองครอบครัวและชุมชน 2.สถานการณ์ของโครอยู่ในระดับต่ำกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง
0.00

 

 

 

2 เพื่อให้เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งด้านประสบการณ์ และวิชาการ
ตัวชี้วัด : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านประสบการณ์ และวิชาการที่ประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็นและซักถามปัญหา เพื่อให้เกิดความรู้และแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง เช่น ไลน์ เฟสบุ๊ค ผ่านการจัดรายการวิทยุคลื่น FM ๙๖.๐ ทางโทรศัพท์ เวบไซด์ของเทศบาล
0.00

 

 

 

3 เพื่อเสริมสร้างให้ชุมชนมีความเข้มแข็งในการแก้ไข ปัญหาโรคที่เกิดจากยุงลาย
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
0.00

 

 

 

4 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหา ร่วมป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนร้อยละ ๘๐ มีความตระหนักถึงปัญหาและให้ ความร่วมมือในการควบคุมป้องกันและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ๒. สำรวจภาชนะที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนร่วมกิจกรรมกับอสม. ค่า HI น้อยกว่า ๑๐
0.00

 

 

 

5 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการกำจัด หรือควบคุมแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลาย ทั้งทางกายภาพ ทางชีวภาพ และ ทางเคมีภาพ
ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงมากกว่าร้อยละ๒ ต่อแสนประชากรลดลงจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี 2. อัตราป่วยด้วยโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ ได้แก่ โรคชิคุนกุนยา โรคไวรัสซิกาลดลง
0.00

 

 

 

6 เพื่อบูรณาการงานจากทุกภาคส่วน สร้างเครือข่าย ร่วมกันในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม กำจัดและลด แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : เกิดภาคีเครือข่ายในการร่วมกันดำเนินการ ป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ วัด โรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
0.00