กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2564

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตรัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตรัง

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตรัง

1.นางสิริอร ทับนิล 2.นางกัลยารัตน์ ไชยแก้ว 3.นางมาลิบ แววสุวรรณ 4.นางสุทิน ซ้ายศีร 5.สุจินทร์ มณีเนียม

บ้านตรัง ม.2 ต.ตรัง อ.มายอ จ.ปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

213.00
2 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

153.00

ากผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปในปี 2563 ของตำบลตรัง จำนวน723คนคิดเป็นร้อยละ 90.26 พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงจำนวน 109 คนคิดเป็นร้อยละ 15 และกลุ่มสงสัยต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงจำนวน104 คนคิดเป็นร้อยละ 14.38
จากผลการคัดกรองโรคเบาหวานในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปในปี 2563 ของตำบลตรังจำนวน
871 คนคิดเป็นร้อยละ 88.43 พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงจำนวน 133 คนคิดเป็นร้อยละ 15.27
และกลุ่มสงสัยต่อการเกิดโรคเบาหวานจำนวน 20 คนคิดเป็นร้อยละ 2.3
ซึ่งสาเหตุของปัญหา มีดังนี้ 1.การรับประทานอาหารทีมีรสหวาน มัน เค็ม 2.ขาดความตระหนักในการปรับเปลียนพฤติกรรม ที่ถูกต้อง จากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าว
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตรังได้ตระหนักถึงความสำคัญของภาวะสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการติดตามและเฝ้าระวังประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงตำบลตรัง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละ50 ของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

153.00 153.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละ 50 ประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

213.00 213.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 366
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. การคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
1. การคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่ายานพาหนะอาสาสมัครสาธารณสุขในการคัดกรองเชิงรุก และจัดเก็บข้อมูล 25 คนๆ ละ 100 บาท 10 วัน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รับรู้ สถานะสุขภาพของตนเอง 2.กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยป่วย ได้รับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรั้ง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25000.00

กิจกรรมที่ 2 2. การใช้ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาโรคเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
2. การใช้ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาโรคเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย ในการใช้ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาโรคเรื้อรัง จำนวน 40 คน
-งบประมาณ
--ค่าอาหารกลางวัน ในการอบรม จำนวน 40 คน ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท --ค่าอาหารว่าง ในการอบรม จำนวน 40 คน ๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ 2,000 บาท --ค่าวิทยากร จำนวน 4 ชม. ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีการใช้ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาโรคเรื้อรัง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 31,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.มีการศึกษาและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรั้ง
2.ระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานสามารควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
3.ระดับความดันโลหิตของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
4.มีการใช้ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาโรคเรื้อรัง


>