กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเขาเจียก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพปลอดภัยไร้สารเคมี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเขาเจียก

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลเขาเจียก

1.นางสรินญา สามนตราช หมายเลขโทรศัพท์ 0887907053
2.นางสุทัศน์ กล้าคง หมายเลขโทรศัพท์ 0612344357
3.นางชนิดา มุขตา หมายเลขโทรศัพท์ 0806981136
4.นายจิตร ทองสุวรรณ์ หมายเลขโทรศัพท์ 0822633291
5.เพ็ญศรี เอียดคง หมายเลขโทรศัพท์ 0828310751

ตำบลเขาเจียก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

2.00
2 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

94.00
3 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร

 

12.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีสารเคมีตกค้างในเลือดอยู่ในระดับปกติเพิ่มขึ้น

ร้อยละ 50

8.00 55.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่ อสม.และประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้แก่ อสม.และประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น รพ.สต., เทศบาล,อสม., เกษตรตำบล
  2. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โครงการ
  3. รับสมัครครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ
  4. จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ
  5. ตรวจหารสรเคมีตกค้างในกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ก่อนและหลัง
  6. อบรมให้ความรู้ เรื่องสารเคมีตกค้างในอาหาร และการเลือกบริโภคอย่างปลอดภัย
  7. อบรมให้ความรู้ เพื่อเป็นจุดสาธิต แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในการส่งเสริมสุขภาพการบริโภคที่ปลอดภัยจากสารเคมีตกค้าง การใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติแทนการใช้สารเคมี
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสารเคมีตกค้างในเลือดในระดับปกติ ร้อยละ 50

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,700.00 บาท

หมายเหตุ :
งบประมาณจัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ อสม.และประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 27,700บาท ค่าใช้จ่ายดังนี้
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับ อสม. และประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีตกค้างในอาหาร และการเลือกบริโภคอย่างปลอดภัย จำนวน 110 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ ๒๕ บาท เป็นเงิน5,500 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน สำหรับ อสม. และประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีตกค้างในอาหาร และการเลือกบริโภคอย่างปลอดภัย จำนวน 110 คน ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน5,500 บาท
- ค่าวัสดุและอุปกรณ์สำหรับการอบรมให้ความรู้เพื่อเป็นจุดสาธิต แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในการส่งเสริมสุขภาพการบริโภคที่ปลอดภัยจากสารเคมีตกค้างและการใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติแทนการใช้สารเคมี เป็นเงิน 11,000 บาท
- ค่าวัสดุและอุปกรณ์สำหรับทำน้ำหมักชีวภาพ
- ค่าเมล็ดพันธุ์พืช
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าแถบตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด จำนวน 3 ขวด ๆ ละ 700 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีความรู้และสามารถบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารเคมี
2. ประชาชนลดความเสี่ยงต่อโรคที่เกิดจากสารเคมีตกค้าง
3.มีจุเรียนรู้การปลูกผักปลอดภัยไว้บริโภค


>