กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคโควิต 2019 (Covid-19)หมู่ที่ 10 บ้านหัวถนน ปีงบประมาณ 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 10 ตำบลชะมวง

1. นาย สันติ รัตนพันธุ์
2. นาง นิลเนตร หลำโต๊ะแหละ
3. นาง ยุพิณ สุขแดง
4. นาง สมพร ทองพัว
5. นางสาว จารุวรรณ ถึงเจริญ

หมู่ที่ 10 ตำบลชะมวง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา2019(Covid-19) ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้แจ้งสถานการณทั่วโลกมีผู้ป่วยจำนวน86,896,536รายเสียชีวิต 1,877,316 ราย สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อรักษาในโรงพยาบาลจำนวน9363 ราย กลับบ้านแล้ว 4521รายเสียชีวิตจำนวน 65ราย ผู้ป่วยรายใหม่305ราย (ข้อมูลจาก: รายงานข่าวกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019ณวันที่7มกราคม2564)และจากการติดตามดูข้อมูลย้อนหลังสถานการณ์รายวันจะเห็นว่าจะมีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างน่าเป็นห่วง
การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(Covid-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้คำแนะนำ ซึ่งบางช่วงเวลาที่หมู่บ้านมีกิจกรรมหรือมีงานประเพณีต่างๆที่มีผู้คนมารวมกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมที่มิอาจจะหลีกเลี่ยงกิจกรรมเล่านั้นได้เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันตนเองจากความเสี่ยงที่จะอาจเกิดขึ้นได้กับประชาชนในเขตพื้นที่ของหมู่ที่ 10 ต.ชะมวง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 10 ตำบลชะมวงจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคโควิต 2019 (Covid-19) ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่

ไม่มีผู้ติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา  2019  (Covid-19)  เกิดขึ้นในพื้นที่

100.00 100.00
2 เพื่อให้มีทรัพยากร พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)

ได้รับการสนับสนุนจัดหาวัสดุพอเพียงกับความต้องการ

100.00 100.00
3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ที่ถูกวิธี และเหมาะสม

ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคัดกรองไวรัสโคโรนา  2019  (Covid-19)  เมื่อมีการทำกิจกรรมในพื้นที่ทุกครั้ง

100.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 342
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนในพื้นที่ในการควบคุมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนในพื้นที่ในการควบคุมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่ใช้งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ไม่มีผู้ติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา  2019  (Covid-19)   เกิดขึ้นในพื้นที่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 การเฝ้าระวังโรคไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ในช่วงที่มีกิจกรรมในหมู่บ้านหรืองานประเพณีต่าง ๆ ที่มีประชาชนมาร่วมปริมาณมาก

ชื่อกิจกรรม
การเฝ้าระวังโรคไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ในช่วงที่มีกิจกรรมในหมู่บ้านหรืองานประเพณีต่าง ๆ ที่มีประชาชนมาร่วมปริมาณมาก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ซื้อหน้ากากอนามัยจำนวน10 กล่องๆ100บาท (กล่องละ50 ชิ้น) เป็นเงิน1,000 บาท
  • จัดซื้อเครื่องวัดอุณหภูมิผิวกายแบบดิจิตอล จำนวน1 เครื่องๆ ละ 2000บาทเป็นเงิน 2,000 บาท
  • จัดซื้อเจลล้างมือแอลกอฮอล์ขนาดขวดละ 450 ซีซี จำนวน 6 ขวดๆละ120 บาทเป็นเงิน 720 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้รับการสนับสนุนจัดหาวัสดุพอเพียงกับความต้องการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3720.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 3,720.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคไวรัสโคโรนา2019(Covid-19)
2. ประชาชนได้รับการเฝ้าระวังการควบคุมโรคไวรัสโคโรนา2019(Covid-19)อย่างต่อเนื่อง
3. มีการดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบชัดเจนและมีประสิทธิภาพ


>