แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง รหัส กปท. L3032
อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. นายอินดี บาตูลางิ
2. นางสาวการามี เจะลง
3. นางสาวนูรยานี บาราเฮ็ง
4. นางนาฟีเส๊าะ สาและบิง
5. นางซัลมา ยานยา
สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีจึงมีผลต่อสุขภาพที่ดีด้วย แต่ปัญหาสุขภาพช่องปากนั้นไม่ได้มีสาเหตุเกิดจากภายในช่องปากเท่านั้น แต่มีตัวปัญหาซึ่งเกิดจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันด้วย ยกตัวอย่างเช่น โรคฟันผุที่เกิดกับคนทั่วไป มีปัจจัยร่วมหลายๆ อย่าง ที่ส่งเสริมให้เกิดโรคนอกเหนือจากเชื้อโรคในช่องปาก อาจมาจากตัวบุคคลที่ขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการทำความสะอาดช่องปาก และอาจมาจากสาเหตุที่ครอบครัวขาดการดูแลเอาใจใส่ครอบครัวไม่เอื้ออำนวยในการดูแลช่องปาก ตลอดจนสื่อโฆษณาที่เกี่ยวข้องกับอาหารการกินต่างๆ ก็มีอิทธิพลในการเลือกทานอาหาร ซึ่งอาหารบางชนิดก็มีส่วนในการทำให้เกิดโรคในช่องปาก นักเรียนโรงเรียนบ้านต้นทุเรียนโดยส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และการเอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพอนามัยในช่องปาก โรงเรียนถือว่าเป็นสถานที่หนึ่ง ที่สามารถให้ความรู้แก่นักเรียนในเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพฟันได้ ปัจจุบันนักเรียนในโรงเรียนบ้านต้นทุเรียนจำนวนหนึ่งเป็นโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบซึ่งมีสาเหตุสำคัญมาจากการดูแลรักษาฟันไม่ถูกวิธี โรคทั้งสองนี้สามารถป้องกันได้ถ้าเหงือกและฟันได้รับการดูแลรักษา ไม่ว่าจะเป็นการแปรงฟันให้ถูกวิธี การสร้างสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารหรือการปรึกษาทันตแพทย์ ทางโรงเรียนบ้านต้นทุเรียน จึงได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องการเลือกรับประทานอาหาร และการดูแลรักษาฟันให้ถูกวิธีตามหลักอนามัย โดยมุ่งหวังส่งเสริมให้นักเรียนรักการแปรงฟันขณะอยู่ที่บ้าน และโรงเรียน
-
1. 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปากและฟันตัวชี้วัด : นักเรียนมีทักษะการดูแลรักษาฟัน ตลอดจนการแปรงฟันที่ถูกต้องขนาดปัญหา เป้าหมาย 1.00
-
2. 2. เพื่อให้นักเรียนรู้จักและเข้าใจขั้นตอนการแปรงฟัน ดูแลช่องปากที่ถูกวิธีตัวชี้วัด : นักเรียนมีความชำนาญในการแปรงฟัน และการดูแลรักษาฟันอย่างถูกวิธีขนาดปัญหา เป้าหมาย 1.00
-
3. 3.เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถนำความไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ขนาดปัญหา เป้าหมาย 1.00
- 1. อบรมหัวข้อ "ยิ้มสวย ฟันสะอาด นักเรียนโรงเรียนบ้านต้นทุเรียน"รายละเอียด
ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. ประชุมวางแผนและแต่งตั้งคณะกรรมการทำงาน 2. จัดทำและเสนอโครงการ "ยิ้มสวย ฟันสะอาด นักเรียนโรงเรียนบ้านต้นทุเรียน" 3. ประสานงานชี้แจงการดำเนินงานตามโครงการ 4. ศึกษาข้อมูลและจัดซื้อชุดรักษาความสะอาดฟัน
5. จัดอบรมให้ความรูุ้นักเรียนเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก 6. นิเทศ กำกับ ติดตาม ปรับปรุง แก้ไข พัฒนา 7. สรุปผล ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินโครงการ งบประมาณการดำเนินงาน 1. ชุดทำความสะอาดฟันโคโดโม ชุดละ 49 บาท x 206 คน รวมเป็นเงิน10,094บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มชุดละ 35 บาท x 210 คน รวมเป็นเงิน 7,350บาท 3. ค่าวิทยากร2 ชั่วโมง คนละ.600 บาท x 2 คนรวมเป็นเงิน 2,400บาท 4. ค่าจัดทำไวนิล1 x 3 เมตร x 250 บาท รวมเป็นเงิน 750 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 20, 594บาทงบประมาณ 20,594.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
โรงเรียนบ้านต้นทุเรียน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
รวมงบประมาณโครงการ 20,594.00 บาท
- นักเรียนมีทักษะการดูแลรักษาฟัน ถูกต้องตามหลักการ
- นักเรียนมีความชำนาญในการแปรงฟัน และการดูแลรักษาฟันอย่างถูกวิธี
- นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง รหัส กปท. L3032
อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง รหัส กปท. L3032
อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................