กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการแก้ไขปัญหาสารเคมีตกค้างในเกษตรกรด้วยสมุนไพรรางจืดพื้นที่รับผิดชอบของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหมู่บ้านตัวอย่างอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานีปีงบประมาณ ๒๕64

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าอุแท

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการแก้ไขปัญหาสารเคมีตกค้างในเกษตรกรด้วยสมุนไพรรางจืดพื้นที่รับผิดชอบของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหมู่บ้านตัวอย่างอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานีปีงบประมาณ ๒๕64

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าอุแท

รพ.สต.หมู่บ้านตัวอย่าง

นายพงษ์ศักดิ์นวลจริง

ม.5 ม.6 ม.8 ม.9 ม.10 ม.11 ม.12 ม.13 ต.ท่าอุแท

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

 

100.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 จำนวนเกษตรกรมีความรู้ในการใช้สารกำจัดศัตรูพืชและแมลง

จำนวนเกษตรกรมีความรู้ในการใช้สารกำจัดศัตรูพืชและแมลง

10.00 80.00
2 จำนวนเกษตรกรที่ตรวจพบปริมาณสารเคมีตกค้างเกินกว่ามาตรฐาน ให้ได้รับการรักษาด้วยสมุนไพรรางจืด

จำนวนเกษตรกรที่ตรวจพบปริมาณสารเคมีตกค้างเกินกว่ามาตรฐาน ให้ได้รับการรักษาด้วยสมุนไพรรางจืด

100.00 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 27/01/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรูแก่เกษตรกรที่ตรวจพบปริมาณสารเคมีตกค้างในระดับเกิดกว่ามาตรฐานเรื่องอันตรายและการป้องกันสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจำนวน 5 ชั่วโมง พร้อมทำแบบทดสอบความรู้ก่อน – หลัง การอบรม จำนวน 20 ข้อ และเข้ารับการรักษาต่อที่ รพ.สต.หมู่บ้านตัวอย่างด้วยสมุนไพรรางจืด

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรูแก่เกษตรกรที่ตรวจพบปริมาณสารเคมีตกค้างในระดับเกิดกว่ามาตรฐานเรื่องอันตรายและการป้องกันสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจำนวน 5 ชั่วโมง พร้อมทำแบบทดสอบความรู้ก่อน – หลัง การอบรม จำนวน 20 ข้อ และเข้ารับการรักษาต่อที่ รพ.สต.หมู่บ้านตัวอย่างด้วยสมุนไพรรางจืด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมการประชุม จำนวน 100 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน5,000บาท
  2. ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมการประชุม จำนวน 100 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน5,000บาท
  3. ค่าวิทยากรอบรมผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 1 คน 5 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน3,000บาท
  4. ค่าสมุนไพรรางจืดแคปซูล จำนวน 60 ขวด ๆ ละ 100 บาท (1 ขวดมี 100 แคปซูล)
    เป็นเงิน 6,000 บาท
  5. ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ป้าย
    เป็นเงิน500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
27 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรที่ตรวจพบปริมาณสารเคมีตกค้างเกิดกว่ามาตรฐาน ให้ได้รับการรักษาด้วยสมุนไพลรางจืด ทุกราย พร้อมทั้งได้รับการติดตามผลการรักษาครบทุกราย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19500.00

กิจกรรมที่ 2 ตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตกร

ชื่อกิจกรรม
ตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตกร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

โดยตรวจหาเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส ด้วยการเจาะเลือดจากเส้นเลือดดำอย่างน้อย 2 มล. นำมาปั่นที่ 2,500 รอบ ด้วยอุปกรณ์ปั่นแยกซีรั่มของเลือด (เครื่องปั่นฮิมาโตคริต) นาน 5 นาที แล้วทดสอบด้วยชุดทดสอบโคลีนเอสเตอเรส

ระยะเวลาดำเนินงาน
27 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เจาะเลือดซ้ำติดตามทุกราย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เกษตรกรมีความรู้ในการใช้สารกำจัดศัตรูพืชและแมลง
2. เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีมีระดับการทำงานของเอนไซน์โคลีนเอสเตอเรสมากกว่าหรือเท่ากับ 100 หน่วยต่อมิลลิลิตร ซึ่งเป็นระดับปกติ


>