กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุม ป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกุบังปะโหลด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคติดต่อ เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อโรคหรือพิษของเชื้อโรคซึ่งสามารถแพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อมมาสู่คนทำให้คนเจ็บป่วยขึ้นมา ซึ่งในปัจจุบันโรคระบาดประจำท้องถิ่นที่พบได้บ่อยในชุมชน ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือเท้าปาก โรคอุจจาระร่วง และเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่คือโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ซึ่งโรคต่าง ๆ เหล่านี้ ได้มีการระบาดในหลาย ๆ พื้นที่ทั่วโลก โดยในประเทศไทยมีการระบาดทั่วทุกภาคของประเทศ ซึ่งในการควบคุม และป้องกันการเกิดโรคนั้น นอกจากหน่วยงานราชการจะมีบทบาทในการดำเนินงานเป็นหลัก ประชาชนทุกคนมีส่วนสำคัญเป็นอย่างยิ่งในการควบคุม และป้องกันไม่ให้มีการเกิดโรค หรือหากเกิดโรคขึ้นมา ก็ไม่ให้มีการระบาดไปมาก ดังนั้นการให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุม และป้องกันการเกิดโรคอย่างถูกต้อง สามารถที่จะทำให้การเกิดโรคติดต่อเกิดได้ยากขึ้น หรือหากมีการระบาด ก็สามารถจำกัดขอบเขตของการระบาดไม่ให้มีการระบาดมากยิ่งขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ โรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการดูแล เฝ้าระวัง โรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน 1. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรคติดต่อที่สำคัญ ให้กับชุมชน
  • ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เพิ่มขึ้น
  • ทุกหมู่บ้านจัดรณรงค์การป้องกันโรคติดต่อ
  • มีป้ายประชาสัมพันธ์โรคติดต่อที่สำคัญทุกหมู่บ้าน
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการควบคุม ป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
โครงการควบคุม ป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ตัวแทนครัวเรือน  - ค่าอาหารกลางวันและน้ำดื่ม ๙0  คน x 1 มื้อx 5๕ บาทเป็นเงิน 4,950 บาท

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม๙0 คน x 2 มื้อx 25 บาท  เป็นเงิน 4,500บาท
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์  ผืนละ ๓๐๐ บาท x ๔ ผืน  เป็นเงิน 1,200  บาท - ค่าวิทยากร   จำนวน  1 คน X ๖ชั่วโมงๆละ 300 บาท  เป็นเงิน 1,๘00 บาท - ค่าวัสดุอบรม                                                       เป็นเงิน 2,550 บาท

  หมายเหตุ  ทุกรายการสามารถถั่วเฉลี่ยกันได้     รวม  15,๐00บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญของชุมชนเพิ่มขึ้น
2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแล เฝ้าระวัง การเกิดโรคติดต่อในชุมชน
3. มีป้ายประชาสัมพันธ์โรคติดต่อที่สำคัญทุกหมู่บ้าน


>