กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการกู้ชีพ การช่วยชีวิตทางน้ำ และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการกู้ชีพ การช่วยชีวิตทางน้ำ และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด

ชื่อองค์กร......ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด......
ผู้รับผิดชอบโครงการ
ชื่อ นางณัฐรินีย์จิตต์หลัง
ตำแหน่งหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด
เบอร์โทรศัพท์08-9463-2383
ที่อยู่ 224/2 หมู่ที่ 4 ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด,ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งแสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลคลองขุด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานความปลอดภัยทางถนน , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กอายุ น้อยกว่า 5 ปี เสี่ยงที่จะเสียชีวิตจากการจมน้ำ

 

50.00
2 ร้อยละของนักเรียนที่สวมหมวกกันน็อคเมื่อขับขี่มอเตอร์ไซต์/คาดเข็มขัดนิรภัย

 

20.00
3 จำนวนนักเรียนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน

 

14.00
4 จำนวนมาตรการเพื่อป้องกันอุบัติเหคุทางถนน

 

0.00

อุบัติเหตุในเด็กเล็ก ยังคงเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นบ่อยและเป็นข่าวที่สะเทือนใจสำหรับคนในสังคม เพราะเป็นวัยที่ยังไม่รู้ว่าอะไรเป็นอันตรายกับตัวเองมากนัก การมีความรู้ความเข้าใจและใช้ความระมัดระวังในการดูแลเด็ก จะช่วยลดการสูญเสียชีวิตได้ จากข้อมูลการสูญเสียมาจากอุบัติเหตุใกล้ตัว เช่น เด็กเล่นน้ำในถังน้ำ กะละมัง แอ่งน้ำ บ่อน้ำ หัวแตก เป็นลม เลือดกำเดาไหล ชักเกร็ง ฯลฯ ล้วนแล้วแต่เป็นภัยใกล้ตัวทั้งสิ้น ถ้าไม่ได้รับการดูแล และหากไม่มีการช่วยเหลือการปฐมพยาบาลที่ถูกต้องอาจเกิดการสูญเสียอย่างไม่คาดคิดเกิดขึ้นได้
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุด ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการกู้ชีพ การช่วยชีวิตทางน้ำ และการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64 ขึ้น เพื่อให้ครูและผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจ และได้รับการฝึกปฏิบัติจริงในการช่วยชีวิต ผู้ประสบภัยทางน้ำขั้นพื้นฐาน การปฐมพยาบาลเบื้องต้น จนสามารถช่วยชีวิตผู้อื่น และเกิดแนวทางการป้องกันได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างความปลอดภัยทางน้ำ และความปลอดภัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการฝึกทักษะ และฝึกปฏิบัติวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธี

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดกลุ่มเสี่ยงในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ที่มีความเสี่ยงจากการจมน้ำ

เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีมีความเสี่ยงต่อการจมน้ำลดลง

50.00 25.00
2 เพื่อให้นักเรียนทุกคนสวมหมวกกันน็อคเมื่อขับขี่มอเตอร์ไซต์/คาดเข็มขัดนิรภัย

นักเรียนทุกคนสวมหมวกกันน็อคเมื่อขับขี่มอเตอร์ไซต์/คาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้งที่เดินทาง

20.00 100.00
3 นักเรียนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง

จำนวนนักเรียนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง

14.00 10.00
4 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุดมีมาตรการเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนน

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลคลองขุดมีมาตรการในการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน

0.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ในการดำเนินโครงการ
  2. จัดอบรมให้ความรู้
        2.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ     2.2 การรู้จักเอาชีวิตรอดเมื่อประสบภัยทางน้ำ     2.3 การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ     2.4 การปฐมพยาบาล ด้วยการผายปอดและการนวดหัวใจให้กับผู้ประสบภัยทางน้ำ     2.5  ฝึกปฏิบัติการเอาชีวิตรอดและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ งบประมาณ กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในเด็กเล็ก
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมโครงการ คณะทำงานและวิทยากร จำนวน 87  คนๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 วันๆ ละ 2 มื้อ                  เป็นเงิน  8,700  บาท
    2. ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมโครงการ คณะทำงานและวิทยากร จำนวน 87  คนๆ ละ 60 บาท จำนวน 2 วัน                          เป็นเงิน  10,440  บาท
    3. ค่าวิทยากร อบรมให้ความรู้ในการบรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
    4. ค่าวิทยากรกลุ่ม จำนวน 6 คน ฝึกปฏิบัติ จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 10,800 บาท
              5. ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1x3 เมตร               เป็นเงิน     360 บาท
    5. ค่าเช่าสระน้ำ วันละ 3,500 บาท จำนวน 1 วัน            เป็นเงิน  3,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต     1. ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเอง และ               บุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล ร้อยละ 100     2. ผู้เข้าอบรมสามารถฝึกปฏิบัติการเอาชีวิตรอดและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำได้ ร้อยละ 90     ผลลัพธ์ ๑. ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเอง และ     บุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล 2. สามารถลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากการจมน้ำและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาล

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
37400.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันจุดเสี่ยง เลี่ยงเด็กจมน้ำ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันจุดเสี่ยง เลี่ยงเด็กจมน้ำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันจุดเสี่ยง เลี่ยงเด็กจมน้ำ     1.1 สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน     1.2 เฝ้าระวังและแจ้งเตือน เช่น ประกาศเสียงตามสายในชุมชน ตักเตือนเมื่อเห็น เด็กเล่นน้ำตามลำพัง     1.3 จัดการแหล่งน้ำให้ปลอดภัย เช่น สร้างรั้ว ติดป้ายคำเตือน ให้มีอุปกรณ์ช่วยคนตกน้ำไว้บริเวณแหล่งน้ำเสี่ยง เช่น ถังแกลลอนเปล่าผูกเชือก ขวดน้ำพลาสติกเปล่า และไม้ เป็นต้น

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สามารถลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากการจมน้ำ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 39,200.00 บาท

หมายเหตุ :
งบประมาณต่างๆ สามารถถัวจ่ายกันได้ตามการจ่ายจริง กิจกรรม สถานที่และเวลาสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลผลิต
1. ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเอง และ
บุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล ร้อยละ 100
2. ผู้เข้าอบรมสามารถฝึกปฏิบัติการเอาชีวิตรอดและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำได้ ร้อยละ 90
ผลลัพธ์
๑. ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเอง และ
บุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล
2. สามารถลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากการจมน้ำและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาล


>