กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง รหัส กปท. L3053

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนบ้านเจาะกือแย
3.
หลักการและเหตุผล

สุขภาพกับการศึกษาเป็นสิ่งที่ต้องดำเนินควบคู่กันไปให้เกิดการประสาน เอื้ออำนวยประโยชน์ และเกื้อกูลซึ่งกันและกันในทุกๆฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โรงเรียนบ้านเจาะกือแยมีความต้องการให้นักเรียนและบุคคลากรทุกๆคนมีสุขภาพดีถ้วนหน้า และมีทักษะในการสร้างเสริมสมรรถภาพด้านสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งที่จะแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนทุกๆคน เพื่อให้นักเรียนทุกๆคนมีร่างกายที่แข็งแรง จิตรใจสมบูรณ์มีสุขนิสัยที่ดี ซึ่งจะส่งผลต่อประสิทธิภาพการเรียนรู้โดยหากนักเรียนมีสุขภาพที่ดีก็มีโอกาสที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ โครงการนี้ต้องการจะให้นักเรียนได้รับการปลูกฝั่งพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีตั้งแต่วัยเด็ก อันจะนำไปสู่การพัฒนาครอบครัว และชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนด้วยเหตุผลดังกล่าวโรงเรียนจึงมีความจำเป็นต้องดำเนินการโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเพื่อบริการและส่งเสริมให้นักเรียนและบุคคลากรทุกๆคน มีสุขภาพดี สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข ในการนี้โรงเรียนบ้านเจาะกือแยจึงได้ดำเนินการ โครงการ "ส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก" ในครั้งนี้เพื่อเป็นการเน้นย้ำให้เกิดความรับผิดชอบและความตระหนักให้เกิดขึ้นแก่นักเรียนให้มากที่สุดต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้นักเรียนชั้น อนุบาล 1 -ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ได้มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและสามาถแปรงฟันจนติดเป็นนิสัยได้
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของนักเรียนที่มีฟันดี(เกณฑ์เป้าหมาย 95 %) 2. ร้อยละของนักเรียนที่ฟันผุน้อยลง(เกณฑ์เป้าหมาย 95 %) 3.ร้อยละของนักเรียนที่ติดนิสัยชอบแปรงฟันทุกๆวัน(เกณฑ์เป้าหมาย 95 %)
    ขนาดปัญหา 400.00 เป้าหมาย 1.00
  • 2. นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจถึงโทษของการไม่แปรงฟัน
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95 ของนักเรียนมีความตระหนักและเข้าใจถึงโทษของการไม่แปรงฟัน
    ขนาดปัญหา 400.00 เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์สร้างความตระหนัก
    รายละเอียด

    กิจกรรมประชาสัมพันธ์ แบบต่างๆ(จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์หรือ สื่อให้ความรู้)

    งบประมาณ 5,000.00 บาท
  • 2. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพในช่องปาก
    รายละเอียด

    กิจกรรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพในช่องปาก  โรคเกี่ยวกับในช่องปากที่มักเกิดกับคนที่แปรงฟันไม่ถูกวิธี ให้ความรู้วิธีแปรงฟันอย่างถูกวิธีเพื่อให้นักเรียนปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนติดเป็นนิสัย และติดตามผล ค่าตอบแทน วิทยากร  3,600  บาท ค่าวัสดุ แปรงสีฟัน  410 ด้าม x 15 บาท = 6150 บาท ยาสีฟัน 410 หลอด x 40 บาท =16,400 บาท

    งบประมาณ 26,150.00 บาท
  • 3. แปรงฟันทั้งปี และ ยิ้มสดใส ฟันแข็งแรง ตลอดทั้งปี(มอบรางวัลให้ผู้ชนะ ผู้ทำกิจกรรมดีเด่น)
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 3,850.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

(กลุ่มนักเรียนอนุบาล)การส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก(ให้ความรู้ให้เกิดความตระหนักถึงสุขภาพในช่องปาก และฝึกปฏิบัติทุกๆวันจนติดเป็นนิสัยการแปรงฟันทุกๆวัน))

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

(กลุ่มนักเรียนประถมศึกษา)การส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก(ให้ความรู้ให้เกิดความตระหนักถึงสุขภาพในช่องปาก และฝึกปฏิบัติทุกๆวันจนติดเป็นนิสัยการแปรงฟันทุกๆวัน)

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนบ้านเจาะกือแย ตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวดปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 35,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1) นักเรียนและครูร้อยละ 100 ได้รับการพัฒนาศักยภาพให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพในช่องปากและมีส่วนร่วมในการขยายเครือข่ายนักเรียนแกนนำสุขภาพได้ 2) นักเรียนและครูร้อยละ 100 ได้มีสุขภาพในช่องปากของตนเองดีขึ้นและมีส่วนทำให้เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 3) นักเรียนและครูร้อยละ 100 สามารถเป็นแกนนำ เป็นแบบอย่างให้กับโรงเรียนต่างๆใน เครือข่ายมาดูงานได้

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง รหัส กปท. L3053

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง รหัส กปท. L3053

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 35,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................