กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมอาหารเช้าเพื่อเด็ก (02-15)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

โรงเรียนนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ 5

ตำบลตลิ่งชัน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาต้องปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่รอบตัวและพร้อมที่จะเจริญเติบโตต่อไปหากได้รับสารอาหารอย่างเหมาะสม อย่างไรก็ตามการส่งเสริมอาหารเช้าให้นักเรียนเป็นโอกาสทองในการพัฒนา การเจริญเติบโต ปรับตัวเพื่อการเรียนรู้ ส่งผลให้นักเรียนมีการพัฒนาการอย่างเหมาะสมตามวัย อีกทั้งยังเป็นการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค ลดโรคภูมิแพ้ ลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่างๆ ได้เสริมสร้างสมองให้ว่องไวในการเรียนรู้รวมถึงเพิ่มระดับเชาว์ปัญญา และสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพภายในครอบครัวของนักเรียนอีกด้วย
โรงเรียนนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ 5 จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาการที่สมดุลทางด้านสุขภาพ เพื่อปลูกฝังทัศนคติและส่งเสริมพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดีสมบูรณ์มีภาวะโภชนาการตามวัยส่งผลให้เจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพมีร่างกายแข็งแรง ไม่มีโรค

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและเจริญเติบโตสมวัย

ร้อยละ  95  ของนักเรียนที่ได้รับอาหารเสริมมีสุขภาพร่างกายที่ดีแข็งแรง

100.00 95.00
2 เพื่อแก้ปัญหานักเรียนที่ประสบภาวะทุพโภชนาการ (ผอม ค่อนข้างผอม เตี้ย ค่อนข้างเตี้ย น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ และน้ำหนักค่อนข้างน้อย)

ร้อยละ  95  นักเรียนที่ได้รับอาหารเสริมมีสุขภาพอนามัยที่ดีสมบูรณ์

100.00 95.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 62
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สำรวจนักเรียนผอม ค่อนข้างผอม เตี้ย ค่อนข้างเตี้ย น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ และน้ำหนักค่อนข้างน้อย

ชื่อกิจกรรม
สำรวจนักเรียนผอม ค่อนข้างผอม เตี้ย ค่อนข้างเตี้ย น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ และน้ำหนักค่อนข้างน้อย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่ากระดาษ เอ 4 จำนวน 1 รีม ๆ ละ 100  บาท
  • เครื่องชั่งน้ำหนัก จำนวน 1 เครื่อง ๆ ละ 600 บาท
  • ที่วัดส่วนสูง จำนวน 1 ชุด ๆ ละ 420 บาท เป็นเงิน 1,120 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มกราคม 2564 ถึง 31 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียน จำนวน 200 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1120.00

กิจกรรมที่ 2 จัดอาหารเสริมให้นักเรียน

ชื่อกิจกรรม
จัดอาหารเสริมให้นักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อาหารเสริม ชุดละ  20 บาท/คน/ชุด/วัน  จำนวน  62 คน  เป็นเวลา  32 วัน  รวมเงิน 39,680 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 9 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อาหารเสริม ชุดละ  20 บาท/คน/ชุด/วัน  จำนวน  62 คน  เป็นเวลา  32 วัน  รวมเงิน 39,680 บาท

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
39680.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามการเจริญเติบโตของนักเรียนโดยชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโต

ชื่อกิจกรรม
ติดตามการเจริญเติบโตของนักเรียนโดยชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าจัดทำเอกสารประเมินพัฒนาการภาวะทุพโภชนาการ 62 ชุด  เป็นเงิน 200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ค่าจัดทำเอกสารประเมินพัฒนาการภาวะทุพโภชนาการ 62 ชุด  เป็นเงิน 200 บาท

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 41,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>