แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ รหัส กปท. L7257
อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. นางสาวสมศรี สุดคง
2. นางนงลักษณ์ พงษ์กาญจน์
3. นางวิลัย แสงสะโน
4. นายเสน่ห์ สุขสวัสดิ์
5. นางกัญญา ทองรักษา
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ รวมทั้งยังเป็นโรคที่เราเรียกว่า “ภัยเงียบ” ที่ส่งผลกระทบต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาต ตามมา ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายให้มีการจัดการดูแลสุขภาพเชิงรุก โดยการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ สำหรับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พร้อมทั้งให้ดำเนินการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนในอวัยวะที่สำคัญของร่างกายหลายระบบ เช่น ตา ไต หัวใจ เท้า เป็นต้น จาก การดำเนินงานคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ของชุมชนคลองเตย 5 ซึ่งมีประชาชนในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 1,460 คนในปี 2563 กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน 670 คน คิดเป็นร้อยละ 54.60 ผลการคัดกรองปกติ จำนวน 782 คน คิดเป็นร้อยละ 880.57 อยู่ในกลุ่มเสี่ยง จำนวน 100 คนคิดเป็นร้อยละ 19.48 กลุ่มสงสัยป่วย 15 คน คิดเป็นร้อยละ 2.07 กลุ่มป่วย 89 คน คิดเป็น 6.97 และได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 675 คน ผลการคัดกรองปกติ 556 คน คิดเป็นร้อยละ 77.40 อยู่ในกลุ่มเสี่ยง 159 คน คิดเป็นร้อยละ 20.64 กลุ่มสงสัยป่วย 15 คนคิดเป็นร้อยละ 1.94 กลุ่มป่วย 154 คน คิดเป็นร้อยละ 11.05 ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มต่อการเพิ่มขึ้น เนื่องจากวิถีชีวิตและวัฒนธรรมในการดูแลสุขภาพ การบริโภคอาหารหวาน มัน เค็มและอาหารจานด่วนของคนในชุมชนบ้านคลองเตย 5 ซึ่งเป็นชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท มีสถานที่จำหน่ายอาหารที่หาได้ง่าย จากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงที่มีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม ร้อยละ 70 ไม่ออกกำลังกาย ร้อยละ 60 มีการดื่มสุรา ร้อยละ 34 และสูบบุหรี่ ร้อยละ 32 ส่วนใหญ่นิยมรับประทานอาการแกงถุง อาหารนอกบ้าน และมีงานเทศกาลต่างๆ มากกมาย ทำให้ไม่มีเวลาในการออกกำลังกาย หรือดูแลตนเองไม่มีการคำนึงถึงพลังงานที่ควรได้รับ ส่งผลให้มีการสะสมไขมัน เกิดภาวะอ้วนลงพุงเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงตามมา จากข้อมูลดังกล่าว ของชุมชนบ้านคลองเตย 5ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา พบว่าจำนวนกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มสูงขึ้นทั้งนี้เป็นผลจากการคัดกรองได้ครอบคลุมมากขึ้นแต่ขณะเดียวกัน หากผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคจากผลการคัดกรองไม่ตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีอย่างต่อเนื่อง ทำให้แนวโน้มการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น และเมื่อมีความเจ็บป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประชาชนเกิดความเครียด ซึ่งจะสามารถนำไปสู่การเจ็บป่วยทางด้านจิตใจได้ในอนาคต และในกลุ่มที่ป่วยแล้วต้องมีการดำเนินการไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่อไปจึงได้จัดโครงการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนบ้านคลองเตย 5 ปี 2564 ซึ่งมีกิจกรรมหลักในการคัดกรองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและเพิ่มทักษะการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี สำหรับกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปให้สามารถดูแลตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรคทั้งด้านร่างกายและจิตใจ และในกลุ่มที่เป็นโรคได้รับการดูแลและรักษาได้อย่างทันท่วงทีและได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เพื่อเป็นการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นต่อไป
-
1. เพื่อติดตามและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามและคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 40 จำนวน 50 คนขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะเสี่ยง ไม่ให้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ ๘๐ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. เพื่อติดตามและสร้างแรงจูงในในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงทุกคนได้รับการดูแลและติดตาม ร้อยละ 100ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. ประชุมคณะทำงานในการดำเนินงานรายละเอียด
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
จำนวน 10 คนๆ ละ 25 บาท x 1 มื้อ = 250 บาท
งบประมาณ 250.00 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- 2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการฯรายละเอียด
- แผ่นพับประชาสัมพันธ์
จำนวน 50 ใบๆ ละ 5 บาท = 250 บาท
งบประมาณ 250.00 บาท - แผ่นพับประชาสัมพันธ์
- 3. กิจกรรมจัดหาครุภัณฑ์ในการดำเนินงานรายละเอียด
- เครื่องวัดความดันโลหิต
จำนวน 2 เครื่องๆ ละ 2,200 บาท = 4,400 บาท - เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด
จำนวน 2 เครื่องๆ ละ 2,500 บาท = 5,000 บาท - เครื่องชั่งน้ำหนัก
จำนวน 1 เครื่อง 600 บาท = 600 บาท
งบประมาณ 10,000.00 บาท - เครื่องวัดความดันโลหิต
- 4. กิจกรรมจัดหาวัสดุในการดำเนินงานรายละเอียด
- ค่าแถบตรวจน้ำตาลในเลือด
จำนวน 4 กล่องๆ ละ 800 บาท = 3,200 บาท - ค่าเข็มเจาะเลือด
จำนวน 1 กล่องๆ ละ 800 บาท = 800 บาท - ค่าสำลีแห้ง
จำนวน 1 ถุงๆ ละ 100 บาท = 100 บาท - ค่าสายวัดรอบเอว
จำนวน 4 เส้นๆ ละ 250 บาท = 1,000 บาท - ค่าแอลกอฮอล์
จำนวน 3 ขวดๆ ละ 50 บาท = 150 บาท - ค่าสมุดบันทึกการตรวจสุขภาพและบันทึกความรู้ 3 อ. 2 ส.
จำนวน 50 เล่มๆ ละ 20 บาท = 1,000 บาท - กล่องใส่อุปกรณ์
จำนวน 2 กล่องๆ ละ 250 บาท = 500 บาท
งบประมาณ 6,750.00 บาท - ค่าแถบตรวจน้ำตาลในเลือด
- 5. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา (๓ อ. ๒ ส) สำหรับกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายละเอียด
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
จำนวน 50 คนๆ ละ 25 บาท x 1 มื้อ = 1,250 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร
จำนวน 1 คนๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 600 บาท = 1,800 บาท - ค่าไวนิลโครงการ
จำนวน 1 ผืน ขนาด 2 x 3 เมตรๆ ละ 150 = 900 บาท
งบประมาณ 3,950.00 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- 6. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้งรายละเอียด
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
จำนวน 50 คนๆ ละ 25 บาท x 2 ครั้ง = 2,500 บาท
งบประมาณ 2,500.00 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- 7. ประชุมคณะกรรมการในการสรุปผลดำเนินงานรายละเอียด
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คนๆ ละ 25 บาท x 1 มื้อ = 250 บาท
- ค่าเอกสารสรุปผลการดำเนินงาน = 1,000 บาท
งบประมาณ 1,250.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ชุมชนบ้านคลองเตย 5 ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
รวมงบประมาณโครงการ 24,950.00 บาท
- ประชากรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตามและฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 40
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้องสม่ำเสมอ สามารถกลับสู่ภาวะปกติมากกว่าร้อยละ 20 และกลุ่มเสี่ยงทุกคนได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ รหัส กปท. L7257
อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ รหัส กปท. L7257
อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................