กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ รหัส กปท. L5256

อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการค้นหาวัณโรครายใหม่และดูแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน ประจำปี 2564
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.เมาะลาแต
กลุ่มคน
1.นายวิโรจน์ มิตทจันทร์
2.นางสาวรอมือล๊ะ กะเส็มมิ
3.นางสาวนูรีฮ๊ะและปายัง
4.นางสาวมารีเย๊าะมะและ
3.
หลักการและเหตุผล

วัณโรค (tuberculosis:TB) เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุขของประเทศไทยเป็นเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดผลผลเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก เป็นสาเหตุของการป่วย และการเสียชีวิต มีปัจจัยหลายอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน และการขยายงานในการควบคุมวัณโรค ทั้งปัจจัยทางด้านผู้ป่วย สิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจเช่นความยากจนด้อยโอกาสทางการศึกษาชุมชนแออัด ปัญหายาเสพติด ในส่วนอำเภอสะบ้าย้อย พบว่า การค้นพบผู้ป่วยเพื่อขึ้นทะเบียนวัณผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำทุกปี 2561-2563 คิดเป็นร้อยละ 33.33,46.49 และ 57.5 และ 86.33 ตามลำดับ ผลการรักษาสำเร็จ คิดเป็นร้อยละ 82.60,86.90และ88.20 ซึ่งยังพบว่าการค้นหาวัณโรครายใหม่ ยังไม่บรรลุเป้าหมายซึ่งต้องเร่งรัดในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงต่าง ๆ ให้ครอบคลุม รวมทั้งการทำงานแบบผสมผสานวัณโรคอย่างจริงจัง เพื่อลดอัตราการตายของผู้ป่วย ความสำคัญของการแก้ไขปัญหาวัณโรคในชุมชน โดยการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องวัณโรคแก่ชุมชน การพัฒนาศักยภาพของ อสม. และเครือข่าย เพื่อดำเนินการเร่งรัด ดังนั้นเพื่อผลสำเร็จในการดำเนินการดังกล่าว จึงจัดทำโครงการค้นหาวัณโรครายใหม่และดูแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน เพื่อให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมาย จึงต้องมีส่วนร่วมในการป้องกันวัณโรค ของทุกภาคส่วนเพื่อให้เกิดการทำงานแบบยั่งยืนต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันและสังเกตุอาการของโรควัณโรค
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากติดเชื้อวัณโรค ร้อยละ80
    ขนาดปัญหา 90.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อคัดกรองวัณโรคในกลุ่มประชากรกลุ่มเสี่ยง
    ตัวชี้วัด : ได้ทราบผู้ป่วยที่เป็นวัณโรค และรักษาได้ตั้งแต่เริ่มต้น
    ขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 70.00
  • 3. เพื่อพัฒนาระบบติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและส่งต่อผู้ป่วย
    ตัวชี้วัด : ได้ทราบจำนวนผู้ป่วยที่ชัดเจนขึ้น และส่งต่อผู้ป่วยเข้ารับการรักษาได้ทัน มีโอกาสหายมากขึ้น
    ขนาดปัญหา 70.00 เป้าหมาย 70.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. โครงการค้นหาวัณโรครายใหม่และดูแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน
    รายละเอียด

    1.ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ เรื่องวัณโรค -ชี้แจงนโยบายเร่งรัดหยุดยั้ง วัณโรค -ให้ความรู้เรื่องวัณโรค และการป้องกันวัณโรค -ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ผ่านสื่อ 2.คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง -คัดกรองโดยวิธีเอกซเรย์เคลื่อนที่ 3.พัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรค -ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคที่บ้านร่วมกับทีมเครือข่ายชุมชน ค่าใช้จ่าย ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ เรื่องวัณโรค -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท จำนวน 50 คน จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,250.-บาท -แผ่นพับให้ความรู้ 50 แผ่น ๆ ละ 2 บาท เป็นเงิน 100 บาท -ป้ายประชาสัมพันธ์ 1 แผ่นๆละ 380 บาท กิจกรรมที่ 2 คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง โดยวิธีเอกเรย์เคลื่อนที่และให้ความรู้เรื่องวัณโรค -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท จำนวน 40 คน เป็นเงิน 1,000.- บาท -ค่าเอกเรย์ 100 บาท จำนวน 40 คน เป็นเงิน 4,000.-บาท -ค่าเอกสาร แบบฟอร์มการคัดกรองจำนวน 40 ชุด ๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 200.-บาท -ค่าจัดทำป้ายโครงการ ขนาด 1.2*2.4 เมตร เป็นเงิน 547.-บาท
    กิจกรรมที่ 3 พัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรค -ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคที่บ้านร่วมกับทีมเครือข่าย -กระเป๋าผ้าใส่ยาวัณโรค 21 ใบ ๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1,050.-บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 8,527.-บาท

    งบประมาณ 8,527.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาะลาแต

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 8,527.00 บาท

หมายเหตุ : งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งพอจำนวน 8,572 บาท รายละเอียดดังนี้ กิจกรรมที่1 ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ เรื่องวัณโรค 1.1 ให้ความรู้ประชาชน ชี้แจ้งนโยบายเร่งรัดหยุดยั้ง วัณโรค -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25บาท*50คน*1มื้อ เป็นเงิน 1,250 บาท -แผ่นพับให้ความรู้ 50 แผ่นๆละ2บาท เป็นเงิน100 บาท -ป้ายประชาสัมพันธ์ 1 แผ่นๆละ 380 บาท รวมเงิน 1,730 บาท กิจกรรมที่ 2 คัดกรองวัณโรคกลุ่มเสี่ยง 2.1 คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง โดยวิธี เอกซเรย์เคลื่อนที่และให้ความรู้เรื่องวัณโรค -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25บาท*40 คน*1มื้อ เป็นเงิน 1,000 บาท -ค่าเอกซเรย์ 100 บาท*40คน เป็นเงิน 4,000 บาท -ค่าเอกสารแบบฟอร์มการคัดกรอง 40 ชุดๆละ 5 บาทเป็นเงิน 200 บาท -ค่าจัดทำป้ายโครงการ ขนาด 1.2*2.5 เมตร เป็นเงิน 547 บาท รวมเงินเป็น 5,747 กิจกรรมที่ 3 พัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรค 3.1 ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคที่บ้านร่วมกับทีมเครื่อข่ายชุมชน -กระเป๋าผ้าใช้ใส่ยาวัณโรค 21 ใบๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1,050 บาท รวมเงินเป็น 1,050 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 8,527 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1 มีผู้เข้าร่วมอบรมตามกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 100 2 ผู้เข้าร่วมอบรมทุกคนผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ร้อยละ 80 3 ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค รั้อยละ 80 4 ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการเยี่ยมบ้่าน ร้อยละ 100 5 ภาคีเครือข่ายในชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานเฝ้าระวัง คัดกรองกลุ่มเสี่ยง และดูแลกลุ่มป่วย

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ รหัส กปท. L5256

อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ รหัส กปท. L5256

อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 8,527.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................