กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมผู้นำนักเรียนด้านส่งเสริมสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลย่านซื่อ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลย่านซื่อ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลย่านซื่อ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

 

5.00
2 ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีคัดกรองพบภาวะสายตาสั้นและเอียง

 

5.00

โรงเรียนเป็นสถาบันที่สำคัญในการสร้างเสริมสุขภาพเป็นสถานที่ซึ่งทุกคนในโรงเรียน และชุมชนรวมกันจัดโครงสร้างและประสบการณ์เพื่อส่งเสริมและดูแลสุขภาพของนักเรียนครู อาจารย์ รวมทั้งบุคลากรในโรงเรียนและชุมชนนั้นๆกระทรวงสาธารณสุขได้เห็นความสำคัญในเรื่องนี้ และได้จัดอบรมผู้นำนักเรียนฝ่ายส่งเสริมอนามัยอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด และในปีพ.ศ. 2541ได้เปลี่ยนชื่อการอบรมผู้นำนักเรียนใหม่เป็นการอบรมผู้นำนักเรียนด้านส่งเสริมสุขภาพเพื่อเป็นการพัฒนาหลักสูตรการอบรมให้เหมาะสมกับกลยุทธ์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลย่านซื่อได้ทำการอบรมหลักสูตรของผู้นำนักเรียนฯมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการส่งเสริมสุขภาพตลอดจนได้เป็นตัวแทนของนักเรียนในการสะท้อนปัญหาและความต้องการในการส่งเสริมสุขภาพ ของตนเองเพื่อนนักเรียน ครอบครัวและชุมชนดังนั้นทางโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพตำบลย่านซื่อจึงเห็นสมควรในการจัดอบรมผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพเพื่อเป็นการพัฒนาเด็กนักเรียนให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพในการส่งเสริมสุขภาพต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนที่ผ่านการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพของตนเอง และ เพื่อนนักเรียนในโรงเรียน

นักเรียนที่ผ่านการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ โดยสามารถตอบ แบบทดสอบความรู้หลังการเข้าร่วมกิจกรรม ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

5.00 8.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 16/03/2021

กำหนดเสร็จ 15/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมผู้นำนักเรียนด้านส่งเสริมสุขภาพรุ่นที่ 1

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมผู้นำนักเรียนด้านส่งเสริมสุขภาพรุ่นที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ที่เกี่ยวข้อง 20 คน ๆ ละ 25  บาท
                จำนวน ……4….มื้อ                                      เป็นเงิน 2,000 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน ในการอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายและผู้ที่เกี่ยวข้อง 20 คน ๆ ละ 60 บาท
      เป็นเงิน 2,400 บาท
    • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 4 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆละ 300 บาท      เป็นเงิน 3,600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
18 พฤษภาคม 2564 ถึง 20 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต 1.  เด็กนักเรียนที่อบรมผู้นำนักเรียนด้านส่งเสริมสุขภาพได้รับความรู้ในด้านอนามัย มีเจตคติและพฤติกรรมในด้านการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้น 2.  นักเรียนในโรงเรียน รวมถึงครอบครัวและชุมชนได้รับการถ่ายทอดความรู้ในด้านอนามัยก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านอนามัยที่ดีขึ้น ผลลัพธ์           นักเรียน เป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโต และเป็นวัยที่อยู่ในการเรียนรู้ การมีองค์ความรู้ความเข้าใจในเรื่องส่งเสริมสุขภาพนั้น สามารถให้นักเรียนมีเจตคติและพฤติกรรมในด้านการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้น รวมถึงครอบครัวและชุมชนได้รับการถ่ายทอดความรู้ในด้านอนามัยก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านอนามัยที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมผู้นำนักเรียนด้านส่งเสริมสุขภาพรุ่นที่ 2

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมผู้นำนักเรียนด้านส่งเสริมสุขภาพรุ่นที่ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ที่เกี่ยวข้อง 20 คน ๆ ละ 25  บาท
            จำนวน ……4….มื้อ                                       เป็นเงิน 2,000 บาท     - ค่าอาหารกลางวัน ในการอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายและผู้ที่เกี่ยวข้อง 20 คน ๆ ละ 60 บาท
เป็นเงิน 2,400 บาท     - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 4 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆละ 300 บาท      เป็นเงิน 3,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
19 พฤษภาคม 2564 ถึง 16 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต 1.  เด็กนักเรียนที่อบรมผู้นำนักเรียนด้านส่งเสริมสุขภาพได้รับความรู้ในด้านอนามัย มีเจตคติและพฤติกรรมในด้านการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้น 2.  นักเรียนในโรงเรียน รวมถึงครอบครัวและชุมชนได้รับการถ่ายทอดความรู้ในด้านอนามัยก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านอนามัยที่ดีขึ้น ผลลัพธ์           นักเรียน เป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโต และเป็นวัยที่อยู่ในการเรียนรู้ การมีองค์ความรู้ความเข้าใจในเรื่องส่งเสริมสุขภาพนั้น สามารถให้นักเรียนมีเจตคติและพฤติกรรมในด้านการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้น รวมถึงครอบครัวและชุมชนได้รับการถ่ายทอดความรู้ในด้านอนามัยก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านอนามัยที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

นักเรียน เป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโต และเป็นวัยที่อยู่ในการเรียนรู้ การมีองค์ความรู้ความเข้าใจในเรื่องส่งเสริมสุขภาพนั้น สามารถให้นักเรียนมีเจตคติและพฤติกรรมในด้านการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้น รวมถึงครอบครัวและชุมชนได้รับการถ่ายทอดความรู้ในด้านอนามัยก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านอนามัยที่ดีขึ้น


>