แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ รหัส กปท. L5256
อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.นายวิโรจน์ มิตทจันทร์
2.นางสาวรอมือละ กะเส็มมิ
3.นางสาวนูรีฮ๊ะ มะและ
4.นางสาวมารีเย๊าะ มะและ
หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เป็นสาเหตุจากการตายจากโรคมะเร็งของสตรีในประเทศไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญโดยเฉพาะโรคมะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรี พบได้ถึง 3 คน ในประชากรหนึ่งแสนคน ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก เสียชีวิต ประมาณ 4,500 ราย ส่วนใหญ่อายุประมาณ 30-50 ปี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูก ด้วยการตรวจ pep smaer และหากทำทุก 2 ปี สามารถลดการเป็นมะเร็งระยะลุกลามได้92% ถึงแม้กระบวนการตรวจ เพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูก จะง่ายและสะดวก ราคาถูกแต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการตรวจ pep smaer ส่วนโรคมะเร็งเต้านมผู้ป่วยมักไม่มีอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่จะต้องตรวจค้นหามะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นสามารถรักษาให้หายขาดได้และการรักษาตัดเฉพาะก้อนเนื้อมะเร็งออกไปการคัดกรองมะเร็งในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ในเขตพื้นที่ รพ.สต.เมาะลาแต พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี 2562-2563 ร้อยละ 74 พบผู้ที่มีเซลล์ผิดปกติ 1 คนและกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านม 99 พบมีความผิดปกติ 1 คน จากข้อมูลดังกล่าว กลุ่มคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ยังไม่เข้ารับการตรวจจะเป็นกลุ่มยากต่อการติดตามเข้ารับบริการ ดังนั้น ชมรม อสม.รพสต.เมาะลาแตจึงจัดทำโครงการใสใจภายใน ห่วงใยสตรี ตรวจถึงบ้านบริการถึงถิ่น คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านมปี 2564 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างเสริมพฤติกรรมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมโดยเชิญเจ้าหน้าที่ รพ.สต.เมาะลาแตเป็นผู้คัดกรอง เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
- 1. โครงการใสใจภายใน ห่วงใยสตรี ตรวจถึงบ้าน บริการถึงถิ่น คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านมรายละเอียด
1.ประชุมเจ้าหน้าที่ 2.จัดทำทเเบียนกลุ่มเป้าหมาย 3.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ 4.ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง 5.ประชาสัมพันธ์โครงการ ขั้นการดำเนินการ 1.จัดทำทะเบียนรายชื่อสตรีกลุ่มเป้าหมาย 2.ประชุมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและสอนทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง 3.ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ
4.เจ้าหน้าที่ให้ความรู้สอนทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย 5.จัดกลุ่มเป้าหมายให้ไปรับบริการที่คลีนิคคัดกรองมะเร็ง 6.แจ้งผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่ผู้รับบริการ 7.ติดตามและส่งต่อ กลุ่มเป้าหมายที่มีความผิดปกติ 8.ประเมินผลการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในโครงการ
-ผ้าถุงสำหรับการเปลี่ยนในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 235 ผืนๆละ100 บาท เป็นเงิน 23,500 บาทงบประมาณ 23,500.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ห้องประชุม รพ.สต.เมาะลาแต
รวมงบประมาณโครงการ 23,500.00 บาท
หมายเหตุ : งบประมาณสนับสนุนสำนักงานหลักประกันสาธารณสุขตำบลทุ่งพอ รายละเอียดดังนี้ -ผ้าถุงสำหรับการเปลี่ยนในหารตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 235 ผืน ๆละ 100 บาท เป็นเงิน 23,500 บาท
1 สตรีอายุ 30-60 ปี ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายการคัดกรองมะเร๊งปาสกมดลูก 2 กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)ซึ่่งเป็นแกนนำหลักของเครือข่ายสุขภาพเพื่อคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ได้รับการพัฒนาทักษะการสื่อสารด้วยรูปแบบอันตรภาษาเพื่อให้สามารถดำเนินงานเชิญรุกในการติดตามและเชิญชวนให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตัดสินใจเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ รหัส กปท. L5256
อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ รหัส กปท. L5256
อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................