กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการ อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลโคกงามร่วมใจ ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกงาม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลโคกงามร่วมใจ ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกงาม

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกงาม

ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคฟันผุและสภาวะเหงือกอักเสบในประชาชนส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับสูง

 

68.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน ๒. เพื่อให้ความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ๓. เพื่อฝึกปฏิบัติการตรวจช่องปากและการลงบันทึกผลให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

๑.ร้อยละ ๘๐ ของ อสม.ทั้งหมด มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี ๒.ร้อยละ ๘๐ ของ อสม.ทั้งหมด สามารถตรวจช่องปากและการลงบันทึกผลได้

68.00 7.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลโคกงาม 68

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้และทักษะให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลโคกงาม เรื่องโครงสร้างของฟัน การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ การดูแลสุขภาพช่องปาก ฝึกปฏิบัติการแปรงฟันและการตรวจสุขภาพช่องปาก

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้และทักษะให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลโคกงาม เรื่องโครงสร้างของฟัน การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ การดูแลสุขภาพช่องปาก ฝึกปฏิบัติการแปรงฟันและการตรวจสุขภาพช่องปาก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.  ค่าป้ายโครงการ ขนาด ๑ X ๓ เมตร จำนวน ๑ ป้าย        เป็นเงิน    ๔๕๐  บาท ๒.  ค่าชุดฝึกปฏิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธี จำนวน  ๖๘ ชุดๆละ ๕๐ บาท     เป็นเงิน  ๓,๔๐๐ บาท ๓.  ค่าอาหารกลางวัน    จำนวน ๖๘ คน X ๗๐ บาท           เป็นเงิน  ๔,๗๖๐ บาท ๔.  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน ๘๑ คน X ๕๐ บาท           เป็นเงิน  ๓,๔๐๐ บาท ( ๒ มื้อๆละ ๒๕ บาท) ๕.  ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย ๑ คน X ๓๐๐ บาท X ๓ ชม. X ๑ วัน       เป็นเงิน     ๙๐๐ บาท ๖.  ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม ๓ คน X ๑๕๐ บาท X ๓ ชม. X ๑ วัน               เป็นเงิน   ๑,๓๕๐ บาท ๗.  ค่าคู่มือการอบรม จำนวน ๖๘ เล่มๆละ ๒๐ บาท             เป็นเงิน   ๑,๓๖๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๑๕,๖๒๐ บาท (-หนึ่งหมื่นห้าพันหกร้อยยี่สิบบาทถ้วน-)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15620.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,620.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีศักยภาพในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน
๒.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี
๓.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สามารถตรวจช่องปากและการลงบันทึกผลได้


>