กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกัน นักสูบ นักดื่มหน้าใหม่ ในพื้นที่ หมู่ 9 ตำบลอุใดเจริญ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

ชมรมคนรักษ์สุขภาพ หมู่ที่ 9

1.นางสาวอรอนงค์ ขุนราช
2. นางวรรณดี บุญโร
3. นางละม้าย เพ็งจันทร์
4. นางสาวกนกอร รังษี
5. นางปภาดา ทองขาวบัว

พื้นที่ตำบลอุใดเจริญ หมู่ที่ 9

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุรา , แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน(อายุไม่เกิน 25 ปี)ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

 

20.00
2 ร้อยละของผู้ใหญ่(อายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป)ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

 

40.00
3 จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน)

 

5.00
4 จำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี(คน)

 

10.00

บุหรี่เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญทางประชากรโลก องค์การอนามัยโลก รายงานว่า ประชากรโลกเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ 4 ล้านคน ในประเทศไทย การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญที่สุดของโรคเรื้อรังที่เกิดขึ้นกับคนไทย ได้แก่ โรคมะเร็ง โรคเส้นเลือดสมองและหัวใจ โรคเบาหวาน โรคปอดเรื้อรัง โดยสาเหตุสำคัญอื่น ได้แก่ การดื่มสุรา การขาดการออกกำลังกาย และการกินอาหารหวานมันเค็ม มากเกินไป ทำให้คนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ 48,244 คน ในส่วนตำบลอุใดเจริญ มีประชากรที่พฤติกรรมสูบบุหรี่ และมักสูบในที่สาธารณะ หรือในชุมชน เช่นงานมหรสพต่าง ๆ ร้านกาแฟ เป็นต้น และมีจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่เพิ่มขึ้นและผู้ที่สูบบุหรี่อยู่ก่อนแล้วมีโอกาสสูบติดต่อจำนวนหลายมวนด้วยความเคยชิน และประเด็นสำคัญคือทำให้ผู้ที่อยู่รอบข้างได้รับพิษควันบุหรี่ ซึ่งมีภาวะเสี่ยงทำให้เกิดไม่แตกต่างจากคนบุหรี่หรืออาจจะมากกว่าคนสูบบุหรี่ ดังนั้นชมรมคนรักษ์สุขภาพ หมู่ที่ 9จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญจึงได้สนับสนุนให้เกิดการบูรณาการ ในการแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่และการดื่มสุราหน้าใหม่ในชุมชน ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาที่เป็นปัจจัยเสี่ยงหลักด้านสุขภาพ นอกจากนี้ยังพบว่าพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุรามีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน หากพบคนติดเหล้าก็มักจะติดบุหรี่ไปด้วย ดังนั้นในการป้องกันและแก้ไขปัญหานี้ได้ จึงให้ความสำคัญกับชุมชน ครอบครัว ที่เป็นหน่วยเล็กที่สุดในสังคม

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป

อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

40.00 15.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>