กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างสุขภาพหญิงต้านโรคมะเร็ง ประจำปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ

ชมรมอาสาสมัครโรงพยาบลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกตก

น.ส. นูไอนี สมาน ประธานชมรมอาสาสมัคร รพ.สต.โคกตก

ห้องประชุม รพ.สต.โคกตก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี pap Smear 2 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปีมีความรู้และทักษะความสามารถตรวจเต้านมด้วยต้นเองโดยผ่านการประเมินจากเจ้าหน้าที่สาธธารณสุข 3 เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก และผู้ป่วยได้รับการส่งต่อรักษาอย่างถูกต้อง ต่อเนื่อง และทันท่วงที

1เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี pap Smear ร้อยละ 40 2 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปีมีความรู้และทักษะความสามารถตรวจเต้านมด้วยต้นเองโดยผ่านการประเมินจากเจ้าหน้าที่สาธธารณสุข ร้อยละ90 3 เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก และผู้ป่วยได้รับการส่งต่อรักษาอย่างถูกต้อง ต่อเนื่อง และทันท่วงที ร้อยละ100

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการสร้างสุขภาพหญิงต้านโรคมะเร็ง

ชื่อกิจกรรม
โครงการสร้างสุขภาพหญิงต้านโรคมะเร็ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 ชี้แจง/ประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง และประชาสัมพันธ์โครงการมะเร็งในสตรี 2 ให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก ส่งเสริมสุขภาพในสตรีอายุ 30-60 ปี 3 ให้ความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมด้วยต้นเอง ส่งเสริมสุขภาพในสตรีอายุ 30-70ปี 4วางแผนการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ประชุม อสม.และแกนนำหมู่บ้าน ในการประชาสัมพันธ์การเปิดบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 5 ให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.โคกตก 6 ประเมินโครงการ 7 สรุปผลโครงการ/รายงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทุ่งพอ จำนวน 57,875 บาท รายละเอียดดังนี้   1 ค่าชุดตรวจมะเร็งปากมดลูก
- speculum zize(m)ชุดละ 60 บาท200คน เป็นเงิน 12,000 บาท - ไม้  Pap sterile ชุดละ 390 บาท4 ชุด เป็นเงิน 1,520 บาท - สำลีก้อน sterile ซองละ 4.5 บาท *200 คน เป็นเงิน 900 บาท - Alcohol95% ขวดละ 180 บาท *2ขวด เป็นเงิน 360 บาท - Nss 500 ml ขวดละ 65 บาท *3 ขวด เป็นเงิน 195 บาท - ถุงมือ sterile กล่องละ 230 บาท *2 กล่อง  เป็นเงิน 460 บาท   2ค่าวัสดุในการตรวจปากมะเร็งปากมดลูก (ชุดผัดเปลี่ยน)ชุดละ 100 บาท *200 คน เป็นเงิน 20,000 บาท   3 ค่าอาหารกลางวันจำนวน 200 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท   4 ค่าวิทยากร 4 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท รวมเงินทั้งสิน 57,875 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
57875.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 57,875.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ในพื้นที่ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเรฺ็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
2 สตรีกลุ่งเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ปีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมพบภาวะปกติทุกชนิดได้รับการส่งต่อและรักษาทุกราย (ร้อยละ 100)
3 อสม.และแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว มีความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและสามารถถ่านทอดความรู้ที่ได้รับให้กลุ่มเป้าหมายและสามารถนำกลุ่มเป้าหมายรับการครวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมได้อย่างครอบคลุม


>