แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก รหัส กปท. L2475
อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการเสียชีวิตในอันดับต้น ๆ ของคนไทยโรคมะเร็งในระบบสืบพันธุ์ส่วนมากจะเกิดในสตรีมากกว่าบุรุษเนื่องจากอวัยวะสืบพันธุ์ของสตรีมีความซับซ้อนมากกว่าบุรุษมะเร็ง ปากมดลูกพบมากในกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี และเป็นสาเหตุการตายอันดับต้น ๆ ของสตรีไทย ซึ่งส่งผลกระทบด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย และสมาชิกในครอบครัว รองลงมา คือ มะเร็งเต้านมซึ่งโรคมะเร็ง ทั้ง 2 ชนิด เป็นความท้าทายอย่างหนึ่งของการแก้ปัญหาสาธารณสุขของบุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่ จากสถิติที่ผ่านมาของกลุ่มเป้าหมาย สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60ปี ของพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านกูมุง พบว่าหญิงวัยเจริญพันธ์ กลุ่มเป้าหมาย อายุ30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ9.71 ซึ่งไม่บรรลุตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ เกณฑ์ชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดไว้ต้องได้ร้อยละ20ขึ้นไปเนื่องจาก ไม่มีการให้ข้อมูลความรู้ตลอดจนการสร้างพฤติกรรมการดูแลตนเองจากโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมที่ถูกต้อง ประกอบกับความไม่ตระหนักต่อสุขภาพของตนเองของหญิงวัยเจริญพันธ์ กลุ่มเป้าหมาย อายุ30 – 60 ปีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านกูมุง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ที่นับว่าเป็นปัญหาที่มีต่อสุขภาพของสตรีในระยะยาว โดยเฉพาะกลุ่มสตรีที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปากมดลูกให้ได้รับการคัดกรองตรวจวินิจฉัยและกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านมสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอีกทั้งยังสามารถให้การบำบัดรักษา ตามมาตรฐานได้รับการติดตามอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง จึงได้จัดทำ โครงการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2564ขึ้น
-
1. เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ30 – 60 ปีได้รับความรู้เรื่องมะเร็งตัวชี้วัด : ร้อยละ หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุ 30 – 60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับมะเร็งขนาดปัญหา เป้าหมาย 90.00
-
2. เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และคัดกรองมะเร็งเต้านม vตัวชี้วัด : ร้อยละ หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งขนาดปัญหา เป้าหมาย 30.00
- 1. คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมรายละเอียด
- ค่าวัสดุ -ชุดแผ่นสไลด์ 100 ชุดๆละ 120 บาท เป็นเงิน 12,000.-บาท
-น้ำยาแช่สไลด์ (แอลกอฮอล์ 95%) ลิตรละ ละ 200 บาท 10 ลิตร เป็นเงิน 2,000.-บาท -เอี้ยมพลาสติกหนาตัวละ 250 บาท 20 ชุด เป็นเงิน 5,000.- บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมจำนวน 200 คน จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน 5,000.- บาท
3.ค่าน้ำมันรถใช้ในโครงการและประชาสัมพันธ์โครงการ เป็นเงิน 2,900.-บาท
- ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการขนาด 1*2 เมตร จำนวน 2 ป้าย ๆละ 750 บาท เป็นเงิน 1,500.- บาท
งบประมาณ 28,400.00 บาท - ค่าวัสดุ -ชุดแผ่นสไลด์ 100 ชุดๆละ 120 บาท เป็นเงิน 12,000.-บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
รวมงบประมาณโครงการ 28,400.00 บาท
ประชากรสตรีมีความรู้ที่ถูกต้องตลอดจนมีพฤติกรรมการดูแลตนเองจากโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม 2. สตรีอายุ30 – 60 ปี ในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 30 3. สตรีอายุอายุ 30 – 60 ปีมีความรู้ความสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน ร้อยละ 90 4. ตรวจพบมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเป้าหมายระยะเริ่มแรก 5. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการเฝ้าระวังและติดตามมาตรวจมะเร็งปากมดลูก อย่างสม่ำเสมอ ทุก 5 ปี
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก รหัส กปท. L2475
อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก รหัส กปท. L2475
อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................