กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ รักลูกน้อยในครรภ์ ใส่ใจขณะตั้งครรภ์ ปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลประจัน

1นางรอปีอ๊ะ ยี่งอ
2.นางสีตีปะห์ สาแม
3.นายอัมรานยานยา
4.นางสาวอารีณา บินวาณิช
5.นางสาตีปะห์ สาแม
6.นางซูบัยดะห์ปะกิยา

ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลประจัน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระยะตั้งครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นที่มีความสำคัญสำหรับการให้กำเนิดทารกให้มีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกายและสติปัญญาแม้ว่าการตั้งครรภ์ของสตรีจะเป็นภาวะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติแต่ก็เป็นภาวะที่หญิงตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความไม่สุขสบายและมีความวิตกกังวล ดังนั้นจึงจำเป็นที่หญิงตั้งครรภ์ต้องเรียนรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองและทารกในครรภ์ การเปลี่ยนแปลงของร่างกายตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ เตรียมรับบทบาทการเป็นมารดาที่ดีมีคุณภาพ สามารถเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดาภายหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง เมื่อมารดาได้รับความรู้และได้รับการส่งเสริมอย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยจะเริ่มตั้งแต่มารดาวางแผนการตั้งครรภ์อย่างค่อยเป็นค่อยไปตลอดระยะเวลาของการตั้งครรภ์ เพื่อก้าวเข้าสู่บทบาทของการเป็น “คุณแม่คุณภาพ”
ดังนั้นหน่วยฝากครรภ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลประจัน จึงจัดโครงการนี้ขึ้น การประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องเพื่อให้หญิงมีครรภ์ฝากครรภ์ทันทีเมื่อทราบว่าตั้งครรภ์ การฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอตามเกณฑ์จะช่วยให้ทราบถึงการเจริญเติบโตรวมถึงความผิดปกติของทารกในครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

เพื่อหญิงตั้งครรภ์ (และสามี)มีความสามารถ
1. บอกการเปลี่ยนแปลงของมารดาในระยะตั้งครรภ์ได้
2. หญิงมีครรภ์รับรู้ข้อมูลและตระหนักถึงความสำคัญของการฝากท้องก่อน 12 สัปดาห์
3. หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและทารกในครรภ์ได้ถูกต้อง

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการ รักลูกน้อยในครรภ์ ใส่ใจขณะตั้งครรภ์ ปี 2564

ชื่อกิจกรรม
โครงการ รักลูกน้อยในครรภ์ ใส่ใจขณะตั้งครรภ์ ปี 2564
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ร่วมประชุมเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน โดยระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนการปรับปรุงการดำเนินงาน
    1. กำหนดรูปแบบการปรับปรุงโครงการฯ  หัวข้อในการให้ความรู้  การฝึกปฏิบัติ  และผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน  จัดทำสื่อการสอน  แผนการสอน  และอุปกรณ์การสอน  รวมทั้งระยะเวลาในการจัดทำ
    2. ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายหญิงมีครรภ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

รวมไปถึงระยะเวลาหลังคลอด
2. หญิงตั้งครรภ์สามารถประเมินตนเองได้ในการป้องกันภาวะเสี่ยงและอาการแทรกซ้อนหญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตามเกณฑ์คุณภาพ


>