กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไผ่โทน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุมไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไผ่โทน

อาสาสมัครสาธาณสุขประจำหมู่บ้านทุ่งคัวะ

เมธาวรรธน์ คำปาแฝง

บ้านทุ่งควัะ หมู่ที่ 8

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิดระบาดในพื้นที่
2.เพื่อให้ชุมชนตะหนักและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
3.เพื่อให้ทีม SRRT ระดับหมู่บ้านมีความรู้ ทักษะในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างประสิทธฺภาพเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด
1.ค่า Hl (House lndex) ของหมู่บ้านน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 , ค่า Cl (Contriner lndex) โรงเรียน/วัด เท่ากับ 0 ร้อยละ 100
2.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลชือดออกในหมู่บ้าน ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากรหรือไม่พบผุ้ป่วยในหมู่บ้าน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ 1.จัดทำโครงการเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลไผ่โทนเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ 2.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 3.จัดเวทีประชาคมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกออกแก่ผู้นำฯ อสม.และประชาชน และกำหนดระเบียบ กติกาของหมู่บ้านในการเฝ้าระวัง ควบคุมกันโรคไข้เลือดออก 3.สำรวจค่า Hl และค่า Cl ในหมู่บ้านทุกหลังคาเรือน โดย อสม.ทุกวันศุกร์ของสัปดาห์และสรุปผลส่งให้ รพ.สต. ทุกวันจันทร์สัปดาห์ถัดไป 5.จัดกิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยประชาชน  อสม.นักเรียนและชุมชน 6.จัดประชุมทีม SRRT เพื่อวางแผนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคฯ อย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง
7.ดำเนินการออกสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง เพื่อตรวจสอบการปฏิบัติงานของ อสม.ในการทำลายแหล่งเพราะพันธ์ยุงลาย 8.ดำเนินการควบคุมโรคโดยทีม SRRT ระดับหมู่บ้าน กรณีการระบาดของโรคไข้เลือดออก 9.สรุป ประเมินผลโครงการ งบประมาณ 1.ค่าป้ายจัดเวทีประชาคม จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมเวทีประชาคม จำนวน 60 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท 3.ค่าป้ายรณรงค์ควบคุมไข้เลือดออก จำนวน 2 ป้าย เ็นเงิน 1,000 บาท 4.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมรณรงค์ฯ จำนวน 60 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ชุมชนมีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย พาหะนำโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง 2.ทีม SRRT ระดับหมู่บ้าน สามารถดำเนินการควบคุมไข้เลือกออกในชุมชนได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน (Grneraion ที่ 2)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 6,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ชุมชนมีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย พาหะนำโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
2.ทีม SRRT ระดับหมู่บ้าน สามารถดำเนินการควบคุมไข้เลือกออกในชุมชนได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน (Grneraion ที่ 2)


>