กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง รหัส กปท. L4116

อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาทักษะกระตุ้นพัฒนาการ ดูแลฟันสวย ส่งเสริมโภชนาการดี
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลกาบัง
3.
หลักการและเหตุผล

ภาวะโภชนการ พัฒนาการในเด็กช่วงอายุ 0-5 ปี เป็นช่วงที่มีอัตราของการพัฒนาสูง ด้วยเหตุนี้ พ่อแม่ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก ต้องมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญให้มากจึงจะช่วยส่งเสริมให้เด็กได้รับการพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพจาการติดตามประเมินโภชนาการและพัฒนาการ อ.กาบัง จ.ยะลา ซึ่งเป็นพื้นที่รับผิดชอบของอำเภอกาบังนั้น พบว่า เด็กในช่วงอายุ 0-5 ปี มีภาวะ ทุพโภชนาการ และพัฒนาการสมวัยอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ดังนี้ ภาวะโภชนาการ ปี 2561-2563สูงดีสมส่วน 55.59 % 43.54 % และ 40.52 ตามลำดับ เด็กมีภาวะผอม 8.00% ,9.81 % ,10.68 %ตามลำดับ และเด็กมีภาวะเตี้ย มีแนวโน้มสูง 9.6%21.0%27.69%
ความครอบคลุมของการตรวจคัดกรองปี2561-2562ดังนี้ 50.27% , 59.73% และ 75.65% ตามลำดับ พัฒนาการสมวัยปี2561, 2562,256374.81% ,86.2% ,89.62% ตามลำดับ เด็กที่ฟันผุ ส่งผลต่อภาวะโภชนาการไม่ดี และส่งผลต่อการพัฒนาพัฒนาการและสติปัญญาของเด็ก
จากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่าประชาชนยังไม่เห็นความสำคัญของการดูแลโภชนาการและพัฒนาการไม่มีความรู้ในการปรับอาหารให้เหมาะกับภาวะสุขภาพของบุตรหลาน ประกอบกับผู้ปกครองขาดการสนใจด้านการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก พบว่าเด็กส่วนใหญ่มีปัญหาฟันผุ ซึงเป็นสาเหตุรบกวนการกินอาหาร จากการสอบถามผู้ปกครองพบว่าอาหารมื้อเช้า มีเพียงร้อยละ 20 ที่ผู้ปกครองทำกับข้าวเอง อีกร้อยละ 80ซื้อกินที่ร้านอาหาร ซึงมักเป็น ขนมขบเคี้ยว ไส้กรอก ฯลฯ ซึ่งเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการน้อยและมีผงชูรสมาก ส่งผลให้เด็กมีภาวะ ทุพโภชนาการได้ง่าย จะเห็นว่าผู้ปกครองพาเด็กมาตรวจตามนัดเพียงร้อยละ 27 ซึ่งค่อนข้องน้อยมาก ทำให้การดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการ และพัฒนาการในเด็กมีผลลัพธ์ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานจึงเห็นว่าการพัฒนาพัฒนาความรู้ให้แก่ ผู้ปกครอง เป็นจุดเริ่มต้นที่จะกระตุ้น่ให้ผู้ปกครองหันมาสนใจบุตรหลานด้านโภชนาการ สุขภาพช่องปาก และพัฒนาการ มากขึ้นจะเป็นการปูพื้นฐานและสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองสามารนำไปส่งเสริมให้บุตรมีภาวะโภชนาการและพัฒนาการที่ภาวะโภชนาการ ดัชนีบ่งชี้ภาวะสุขภาพโดยรวมของเด็ก และ เป็นต้นทุนสำคัญ สำหรับการพัฒนาเด็กให้เติบโตเต็มศักยภาพ มีสุขภาพดีและมีเชาวน์ปัญญาที่พร้อมจะเรียนรู้ ฝึกฝนทักษะ และสั่งสมประสบการณ์ เพื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ (ลัดดาเหมาะสุวรรณ, 2555) เด็กจำ เป็นต้องได้รับสารอาหารในปริมาณที่พอเพียงความต้องการสารอาหารของเด็กแต่ละคนในช่วงนี้จะไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับอัตราการเจริญเติบโตของเด็กแต่ละคน หากเด็กได้รับโภชนาการหรือ สารอาหารต่าง ๆ ไม่เพียงพอ จะส่งผลให้การเจริญเติบโตช้า กล้ามเนื้อไม่แข็งแรง ภูมิต้านทานต่ำเกิดภาวะโลหิตจาง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี/ผู้เลี้ยงดู /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัยไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับลูกหลาน/นักเรียน โดยเลือกใช้วัตถุดิบที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 60.00
  • 2. 2.ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี/ผู้เลี้ยงดู /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องอาหารตามวัย,การกระตุ้นพัฒนาการตามช่วงวัยและการดูแลสุขภาพฟันในเด็ก 0-5 ปี เพิ่มขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 5
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถพัฒนาทักษะการกระตุ้นพัฒนาการเหมาะสมตามช่วงวัย การดูแลสุขภาพฟันในเด็กได้เหมาะสมตามช่วงวัย และมีความรู้เรื่องอาหารตามวัย
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 60.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดนิทรรศการอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมาย/ผู้เลี้ยงดูเด็ก อสม. หรือผู้สนใจ /ครู ศพด. ตามซุ้มที่กำหนด
    รายละเอียด

    -  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คน X25 บาท X 2 มื้อ                          เป็นเงิน    5,000    บาท -  ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการขนาด 3 เมตรx1.5 เมตร จำนวน 1 แผ่น    เป็นเงิน    1,350    บาท -  ค่าไวนิลตัวอย่างอาหารเสริมตามวัย6-8 ด., 9-12 ด.,1-2 ปี,3-5  ปี   จำนวน 4 แผ่นX 1350 บาท 3X1.5 เมตร                                     เป็นเงิน  5,500    บาท
    -  ค่าไวนิลส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย ขนาด 3 เมตรx1.5เมตร             9 ด.,18 ด.,30ด.,42ด., 50ด.จำนวน 4 แผ่นX 1350 บาท 3X1.5 เมตร            เป็นเงิน  6,750    บาท -  ค่าวิทยากรประจำซุ้มนิทรรศการ ซุ้มโภชนาการชั่วโมงละ 300 บาทx3ชมx1 คน                                   เป็นเงิน    900   บาท ซุ้มกระตุ้นพัฒนาการชั่วโมงละ 300 บาทx3ชมx2 คน                                   เป็นเงิน  1,800  บาท ซุ้มการดูแลสุขภาพฟันเด็ก 0-5 ปีชั่วโมงละ 300 บาทx3ชมx1 คน                              เป็นเงิน      900  บาท                                                                                               รวมเป็นเงินทั้งสิ้น     21,200    บาท

    งบประมาณ 21,200.00 บาท
  • 2. ประเมินความรู้จาก Pre test / post test แต่ละซุ้ม
    รายละเอียด

    -

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 3. ประกวดเด็กโภชนาการดีสูงดีสมส่วน ฟันดีฟันสวย พัฒนาการสมวัย เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองตื่นตัว
    รายละเอียด

    -

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 4 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

ลานเอนกประสงค์ หน้าห้องบริการปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลกาบัง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 21,200.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้ปกครองเด็ก 0-5ปี /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัยไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับลูกหลาน/นักเรียน โดยเลือกใช้วัตถุดิบที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น
  2. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถพัฒนาทักษะการกระตุ้นพัฒนาการเหมาะสมตามช่วงวัย
  3. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถพัฒนาทักษะการกระตุ้นการดูแลสุขภาพฟันในเด็กได้เหมาะสมตามช่วงวัย
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง รหัส กปท. L4116

อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง รหัส กปท. L4116

อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 21,200.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................