กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ ส่งเสริมและการป้องกันสุขภาพเยาวชนจากพิษภัยของบุหรี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

ชมรมเยาวชนบ้านกูเว

1.นายฮัมดัน ดอฆอ ประธานชมรมเยาวชน
2.นายโซฟี บินอาแวกือจิ รองประธานเยาวชน
3.นายอารีฟ สาระสีนา กรรมการ
4.นายอิกรอม บือราเฮ็ง กรรมการ
5.นายไอดี วาจิ กรรมการ

บ้านกูเวหมู่ที่ 4 ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน(อายุไม่เกิน 25 ปี) ที่สูบบุหรี่

 

60.00
2 จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน)

 

50.00
3 ปริมาณการสูบบุหรี่ (เฉลี่ยต่อคนต่อวัน) ของผู้สูบบุหรี่อายุ 15 ปีขึ้นไป (มวน)

 

60.00
4 ค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน(บาท)

 

60.00

เยาวชนบ้านกูเวนับว่าเป็นบุคคลสำคัญ ที่มีพละกำลังที่สมบูรณ์ มีความพร้อมทางด้านร่างกาย จิตใจ ที่พร้อมใจที่จะพัฒนาหมู่บ้านให่้เกิดความเข้มแข็งในอนาคตได้ แต่ด้วยสภาวะการณ์ในปัจจุบันเยาวชน ร้อยละ 50อ่อนแรง ในทางความคิด ขาดความรู้ เกิดการชัดจูนได้ง่าย บ้างคนไม่สนใจในการเรียน ไม่สนใจกับการสั่งสอนของพ่อแม่ ครุอาจารย์ ทำให้เกิดการปฏิบัติตัวลงทางไปในทางที่ผิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนที่อยู่ในวาวะกลุ่มเสี่ยง ที่มีอายุอยู่ในช่วนไม่เกิน 25 ปี ถือว่าสูญเสี่ยงมากในการที่จะไปติดสิ่งเสพติด ติดบุหรี โดยที่เกิดจากเยาวชนไม่มีสติ ไม่มีความรู้ ไม่มีความเข้าใจในการที่จะป้องกันตัวเองจากพิษภัยของสิ่งเสพติด และบุหรี
ด้วยเหตุนี้คณะกรรมการชมรมเยาวชนบ้านกูเว โดยได้รับคำแนะนำจากทีมที่ปรึกษาชมรมเยาวชน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงได้เสนอจัด โครงการ ส่งเสริมและการป้องกันสุขภาพเยาวชนจากพิษภัยของบุหรี เพื่อที่จะให้เยาวชน บ้านกูเวมีความรู้ ความเข้าใจในการที่จะเพิ่มความสามารถในการป้องกันต้นเองจากพิษภัยของสิ่งเสพติด และบุหรี ส่งเสริมในการเกิดการความรักรักในต้นเอง รักครอบครัว และมีความสามารถที่จะพัฒนาหมู่บ้านในอนาคตต่อไปได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน

อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

60.00 50.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี

จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ (คน)

50.00 40.00
3 เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน

ค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน ลดลงเหลือ(บาท)

60.00 40.00
4 เพื่อลดปริมาณการสูบบุหรี่ของผู้สูบบุหรี่ อายุ 15 ปีขึ้นไป

ปริมาณการสูบบุหรี่เฉลี่ยต่อคนต่อวันของผู้สูบบุหรี่ อายุ 15 ปีขึ้นไป ลดลงเหลือ(มวน)

60.00 40.00

1.เพื่อที่จะให้เยาวชนบ้านกูเวมีความรู้ ความเข้าใจ้ในการที่จะเพิ่มความสามารถในการป้องกันต้นเองจากพิษภัยของสิ่งเสพติด และบุหรี

2.เพื่อส่งเสริมทำให้เกิดความรักในต้นเอง รักครอบครัว และมีความสามารถที่จะพัฒนาหมู่บ้านในอนาคต

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 17/03/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ประสานงาน และจัดประชุม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ประสานงาน และจัดประชุม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดประชุม/วางแผนคณะกรรมการเยาวชน เพื่อดำเนินโครงการ
2.กิจกรรมประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการฯ เพื่อให้เยาวชน ประชาชนได้รับรู้รับทราบ
3.ลงพื้นที่เชิญชวน ประสาน สรรหาเยาวชนที่อยู่ในภาวะกลุ่มเสี่ยง
4.จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้อยละ 80 คณะกรรมการเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ และเหตุผลในการที่จะดำเนินโครงการ

2.ร้อยละ 80 เยาวชน และประชาชน ผู้ปกครองได้รับรู้ รับทราบในการดำเนินโครงการ

3.ร้อยละ 50 สามารถสรรหาเยาวชนเข้าร่วมโครงการได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมส่งเสริมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันพิษภัยของบุหรี

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันพิษภัยของบุหรี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าวิทยากร 5 ชม.ๆละ 600 บาท  เป็นเงิน 3,000  บาท

2.ค่าอาหารกลางวัน 50 คนๆละ 60 บาท เป็นเงิน 3,000  บาท

3.ค่าอาหารว่าง 50 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,500  บาท

4.ค่าป้ายไวนิล 3*1.5 เมตร เป็นเงิน 1,125 บาท

5.ค่าเอกสาร วัสดุ (สมุด ปากกา ) 50 คน คนๆละ ๘๕ บาท  เป็นเงิน 4,250  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้อยละ 50 เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยงลดอัตราการสูบบุหรี

2.ร้อยละ 40 ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน

3.ร้อยละ 40 ลดปริมาณการสูบบุหรี่ของผู้สูบบุหรี่ อายุไม่เกิน 25 ปีขึ้นไป

4.เยาวชนบ้านกูเวมีความรู้ ความเข้าใจ้ในการที่จะเพิ่มความสามารถในการป้องกันต้นเองจากพิษภัยของสิ่งเสพติด และบุหรี

5.เยาวชนเกิดความรักในต้นเอง รักครอบครัว และมีความสามารถที่จะพัฒนาหมู่บ้านได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13875.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,875.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยงลดอัตราการสูบบุหรีได้

2.สามารถที่ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่ได้

3.สามรถลดปริมาณการสูบบุหรี่ของผู้สูบบุหรี่ อายุไม่เกิน 25 ปีขึ้นไป

4.เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ้และเพิ่มความสามารถในการป้องกันต้นเองจากพิษภัยบุหรี

5.เยาวชนเกิดความรักในต้นเอง รักครอบครัว และมีความสามารถที่จะพัฒนาหมู่บ้านได้


>