กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพเด็กในวัยเรียน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

โรงเรียนชุมชนบ้านควนปริง

โรงเรียนชุมชนบ้านควนปริง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ทุกชุมชนต่างมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง ทั้งประเพณี วัฒนธรรม และวิถีการดำเนินชีวิต การรับประทานอาหาร การดูแลรักษาสุขภาพ การรับประทานพืชผักเพื่อบำรุงร่างกาย การรักษาโรคด้วยสุมนไพร เป็นต้น การเพาะเห็ดนางฟ้า เป็นการฝึกให้นักเรียน ได้มีความรู้ความเข้าใจการดูแลรักษา และการปฏิบัติในการเพาะเห็ด การเก็บผลผลิต ซึ่งเป็นการเรียนรู้โดยฝึกปฏิบัติจริง ฝึกให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ เห็นคุณค่าของงานอาชีพที่สุจริต เพื่อเป็นแนวทางในการนำไปพัฒนาการประกอบอาชีพหรือรายได้เสริมและยังเกิดความภาคภูมิใจกับผลผลิตได้รับผลผลิตจากการปฏิบัติสามารถนำไปสนับสนุนกิจกรรมโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ นอกจากภูมิปัญญาทางอาหารช่วยส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดีแล้วยัง ช่วยลดปัญหาสาธารณสุขของประเทศชาติได้คณะครูนักเรียนบุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครองนักเรียน ตำบลพนมวังก์อำเภอควนขนุนจังหวัดพัทลุง
จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนและผู้ปกครอง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเพาะเห็ดและปลูกผักพื้นบ้านที่ส่งเสริมสุขภาพ

มีศูนย์เรียนรู้ด้านการ ส่งเสริมสุขภาพทางเลือก

0.00 1.00
2 ส่งเสริมการใช้ความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพทางเลือก ลดการปนเปื้อนจากสารตกค้างที่ก่อให้เกิดโรค ต่าง ๆ ป้องกันโรค รักษาโรค ลดการใช้สารเคมีทุกประเภทให้ได้

มีกลุ่มแกนนำในการเรียนรู้  โดย -มีสวนผักพื้นบ้านเพื่อการเรียนรู้และใช้ประโยชน์ในการทำอาหาร  ส่งเสริมสุขภาพ  ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพ

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 26/04/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมให้ความรู้ ในเรื่องสารตกค้าง สารปนเปื้อนในผัก ในอาหาร และ การผสมปุ๊ยจาก มูลสัตว์เว้นจากการใช้เคมี

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมให้ความรู้ ในเรื่องสารตกค้าง สารปนเปื้อนในผัก ในอาหาร และ การผสมปุ๊ยจาก มูลสัตว์เว้นจากการใช้เคมี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • การประชุมให้ความรู้ (ค่าอาหารว่าง 50 คน x 20 บาท) เป็นเงิน 1,000 บาท
  • ค่าวิทยากร (2 ชั่วโมง x 600 บาท) เป็นเงิน 1,200 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
26 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในเรื่องสารตกค้าง สารปนเปื้อนในผัก ในอาหาร และการผสมปุ๋ยจากมูลสัตว์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2200.00

กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมให้ความรู้ ในเรื่องสารตกค้าง สารปนเปื้อนในผัก ในอาหาร และ การผสมปุ๊ยจาก มูลสัตว์เว้นจากการใช้เคมี

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมให้ความรู้ ในเรื่องสารตกค้าง สารปนเปื้อนในผัก ในอาหาร และ การผสมปุ๊ยจาก มูลสัตว์เว้นจากการใช้เคมี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าขี้เลื่อย (1,500 กิโลกรัม x 1 บาท) เป็นเงิน 1,500 บาท
  • ค่ารำละเอียด ( 30 กิโลกรัม x 10 บาท) เป็นเงิน 300 บาท
  • ปูนขาว (10 กิโลกรัม x 10 บาท) เป็นเงิน 100 บาท
  • ภูไมท์ (1 กระสอบ x 250 บาท) เป็นเงิน 250 บาท
  • ธาตุอาหาร (10 กิโลกรัม x 30 บาท) เป็นเงิน 300 บาท
  • ดีเกลือ (10 กิโลกรัม x 10 บาท) เป็นเงิน 100 บาท
  • ถุงเพาะเห็ด (8 กิโลกรัม x 50 บาท) เป็นเงิน 400 บาท
  • ฝาปิดถุงเพาะเห็ด (2 ถุง x 300 บาท) เป็นเงิน 600 บาท
  • คอถุง (2 ถุง x 300 บาท) เป็นเงิน 600 บาท
  • เชื้อเห็ดฟาง (10 ชุด x 200 บาท) เป็นเงิน 2,000 บาท
  • เชื้อเห็ดนางฟ้า (50 ชุด x 10 บาท) เป็นเงิน 500 บาท
  • ฟางข้าว (10 มัด x 50 บาท) เป็นเงิน 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
26 เมษายน 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการส่งเสริมให้มีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินเอง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7150.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,350.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.มีศูนย์เรียนรู้ด้านการส่งเสริมการเพาะเห็ดและปลูกผักพื้นบ้านไร้สารพิษ
2.นักเรียนและผู้ปกครองได้ลงมือปฏิบัติในการเพาะเห็ดและปลูกผัก
3.นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ประสบการณ์ในการนำไปพัฒนาประกอบอาชีพ
4.นักเรียนและผู้ปกครองเกิดความภาคภูมิใจและรู้จักประหยัด
5.เป็นทางเลือกให้แก่ประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ด้วยศาสตร์การใช้ธรรม


>